Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/6675
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorรัตนา ดวงแก้ว, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.authorชำนาญ แดงท่าขาม, 2518-th_TH
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาศึกษาศาสตร์th_TH
dc.date.accessioned2023-06-23T02:22:25Z-
dc.date.available2023-06-23T02:22:25Z-
dc.date.issued2559-
dc.identifier.urihttps://ir.stou.ac.th/handle/123456789/6675en_US
dc.description.abstractการวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) ศึกษาภาวะผู้นำของครูในศตวรรษที่ 21 ในโรงเรียนประถมศึกษา สังกัดสานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษายโสธร เขต 2 (2) เปรียบเทียบภาวะผู้นำของครูในศตวรรษที่ 21 จำแนกตามเพศ ระดับการศึกษา ประสบการณ์การสอน และขนาดของโรงเรียน และ (3) ศึกษาข้อเสนอแนะในการพัฒนาภาวะผู้นำของครูในศตวรรษที่ 21 กลุ่มตัวอย่าง คือ ข้าราชการครูในโรงเรียนประถมศึกษา สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษายโสธร เขต 2 จำนวน 358 คน ซึ่งได้มาโดยการสุ่มตัวอย่างแบบแบ่งชั้น เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยเป็นแบบสอบถามเกี่ยวกับภาวะผู้นำของครูในศตวรรษที่ 21 มีค่าความเที่ยงเท่ากับ 0.96 และแบบสัมภาษณ์การพัฒนาภาวะผู้นำของครูในศตวรรษที่ 21 การวิเคราะห์ข้อมูลใช้ความถี่ ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน การวิเคราะห์ความแปรปรวนทางเดียว และการวิเคราะห์เนื้อหา ผลการวิจัยปรากฏว่า (1) ภาวะผู้นำของครูในศตวรรษที่ 21 ในโรงเรียนประถมศึกษา สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษายโสธร เขต 2 โดยภาพรวมอยู่ในระดับมาก (2) ครูที่แตกต่างกันด้านระดับการศึกษา ประสบการณ์การสอน และขนาดของโรงเรียนมีภาวะผู้นำในศตวรรษที่ 21 โดยภาพรวมแตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ ระดับ .05 ส่วนครูที่มีเพศแตกต่างกันมีภาวะผู้นาในศตวรรษที่ 21 โดยภาพรวมไม่แตกต่างกัน และ (3) ข้อเสนอแนะในการพัฒนาภาวะผู้นำของครูในศตวรรษที่ 21 ได้แก่ ควรนำวัฒนธรรมความร่วมมือของครูที่มีความเข้มแข็งมาเป็นตัวขับเคลื่อนการพัฒนาภาวะผู้นำของครูแบบชุมชนการเรียนรู้ทางวิชาชีพ ควรพัฒนาครูให้มีภาวะผู้นำด้านการเข้าถึงและใช้การวิจัยในการเรียนการสอน และควรสนับสนุนให้ครูที่เชี่ยวชาญในการทำวิจัยในชั้นเรียนเป็นพี่เลี้ยงให้กับครูที่มีประสบการณ์น้อยth_TH
dc.formatapplication/pdfen_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)en_US
dc.rights.urihttps://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/en_US
dc.sourceBorn digitalen_US
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาศึกษาศาสตร์ -- การศึกษาเฉพาะกรณีth_TH
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. แขนงวิชาบริหารการศึกษา -- การศึกษาเฉพาะกรณีth_TH
dc.subjectครูประถมศึกษาth_TH
dc.subjectภาวะผู้นำth_TH
dc.subjectการศึกษาอิสระ -- บริหารการศึกษาth_TH
dc.titleภาวะผู้นำของครูในศตวรรษที่ 21 ในโรงเรียนประถมศึกษาสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษายโสธร เขต 2th_TH
dc.title.alternativeTeacher leadership in the 21st century in primary schools under the Office of Yasothon Primary Education Service Area 2th_TH
dc.typeThesisen_US
dc.degree.nameศึกษาศาสตรมหาบัณฑิตth_TH
dc.degree.levelปริญญาโทth_TH
dc.degree.disciplineสาขาวิชาศึกษาศาสตร์th_TH
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.description.abstractalternativeThe objectives of this research were (1) to study teacher leadership in the 21st century in primary schools under the Office of Yasothon Primary Education’ Service Area 2; (2) to compare teacher leadership in the 21st century as classified by teacher’s gender, educational level, teaching experience, and school size; and (3) to study suggestions for development of teacher leadership in the 21st century. The sample consisted of 358 government teachers in primary schools under the Office of Yasothon Primary Education Service Area 2, all of whom were obtained by stratified random sampling. The employed research instruments were a rating scale questionnaire on teacher leadership in the 21st century, with reliability coefficient of 0.96; and an interview form concerning the development of teacher leadership in the 21st century. The research data were analyzed using the frequency, percentage, mean, standard deviation, one-way ANOVA, and content analysis. The research findings were as follows: (1) the overall teacher leadership in the 21st century in primary schools under the Office of Yasothon Primary Education Service Area 2 was at the high level; (2) teachers with different educational levels, teaching experiences, and school sizes significantly differed in their overall teacher leadership in the 21st century at the .05 level, while teachers with different genders did not significantly differ in their teacher leadership in the 21st century; and (3) suggestions concerning development of teacher leadership in the 21st century were as follows: a strong teacher-led collaborative culture should be applied as a driving force for development of teacher leadership in the form of professional leadership community; teachers should be encouraged to have leadership in accessing and applying research in instruction; and teachers who were specialists in classroom research should be promoted as mentors for less experienced teachersen_US
Appears in Collections:Edu-Independent study

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
fulltext_159664.pdfเอกสารฉบับเต็ม3.89 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons