Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/6678
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorจําลอง นักฟ้อนth_TH
dc.contributor.authorชุติพงศ์ สุกป่าน, 2501-th_TH
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาศึกษาศาสตร์th_TH
dc.date.accessioned2023-06-23T02:47:18Z-
dc.date.available2023-06-23T02:47:18Z-
dc.date.issued2551-
dc.identifier.urihttps://ir.stou.ac.th/handle/123456789/6678en_US
dc.description.abstractการวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) ศึกษาการบริหารการจัดการเรียนรู้ของผู้บริหาร สถานศึกษาขั้นพื้นฐานสังกัดสํานักงานเขตพื้นที่การศึกษานราธิวาส เขต 2 2) เปรียบเทียบการบริหารการจัดการเรียนรู้จําแนกตามคุณลักษณะส่วนตัวของผู้บริหารสถานศึกษาขั้นพื้นฐานและ 3) ศึกษาปัญหาและข้อเสนอแนะเกี่ยวกับการบริหารการจัดการเรียนรู้ของผู้บริหารสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน สังกัดสํานักงานเขตพื้นที่การศึกษานราธิวาส เขต 2 กลุ่มตัวอย่างในการวิจัย ได้แก่ ผู้บริหารสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน สังกัดสํานักงานเขตพื้นที่การศึกษานราธิวาส เขต 2 จํานวน 100 คน ได้มาโดยการกําหนดขนาดกลุ่มตัวอย่างตามตารางของเครจซี่และมอร์แกน และใช้การสุ่มแบบแบ่งชั้น เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยเป็นแบบสอบถามแบบมาตรประมาณค่าที่ผู้วิจัยพัฒนาขึ้น สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูลประกอบด้วย ค่าความถี่ ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย ค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน และการวิเคราะห์ความแปรปรวนทางเดียว ผลการวิจัยพบว่า (1) การบริหารการจัดการเรียนรู้ของผู้บริหารสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน สังกัดสํานักงานเขตพื้นที่การศึกษานราธิวาส เขต 2 ในภาพรวมและรายด้านพบว่า มีการปฏิบัติอยู่ในระดับมาก ด้านที่มีการปฏิบัติสูงสุด คือ การวางแผนการจัดการเรียนรู้ รองลงมา คือ การจัดกิจกรรมการเรียนรู้ และการประเมินผลการเรียนรู้ตามลําดับ ส่วนการปรับปรุงและพัฒนาการจัดการเรียนรู้มีการปฏิบัติต่ำที่สุด (2) การเปรียบเทียบการบริหารการจัดการเรียนรู้ของผู้บริหารสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน พบว่าระดับการศึกษาประสบการณ์ในการปฏิบัติงาน และประสบการณ์ในการดํารงตําแหน่งผู้บริหารสถานศึกษาที่ต่างกัน มีการบริหารการจัดการเรียนรู้ไม่แตกต่างกัน และ (3) ปัญหาในการบริหารการจัดการเรียนรู้ที่สําคัญ ได้แก่ สถานศึกษาและครูไม่ให้ความสําคัญในการวางแผนการจัดการ เรียนรู้ ครูขาดการพัฒนาตนเอง สอนไม่ตรงวิชาเอก ขาดสื่อและวิธีการใหม่ๆในการสอน ส่วนข้อเสนอแนะที่สําคัญได้แก่ควรจัดให้ครูได้รับการอบรมสัมมนาควรปรับปรุงหลักสูตร ให้ชัดเจนและควรเพิ่มงบประมาณและอุปกรณ์ในการเรียนการสอนให้มากขึ้นth_TH
dc.formatapplication/pdfen_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)en_US
dc.rights.urihttps://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/en_US
dc.sourceReformatted digitalen_US
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. แขนงวิชาบริหารการศึกษา--การศึกษาเฉพาะกรณีth_TH
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาศึกษาศาสตร์--การศึกษาเฉพาะกรณีth_TH
dc.subjectผู้บริหารโรงเรียน--ไทยth_TH
dc.subjectผู้บริหารโรงเรียน--ไทย--นราธิวาสth_TH
dc.subjectการศึกษาอิสระ -- บริหารการศึกษาth_TH
dc.subjectการบริหารงานบุคคลth_TH
dc.titleการบริหารการจัดการเรียนรู้ของผู้บริหารสถานศึกษาขั้นพื้นฐานสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษานราธิวาส เขต 2th_TH
dc.title.alternativeAdministration for learning management of basic education school administrators under the office of Narathiwat Educational Service Area 2en_US
dc.typeThesisen_US
dc.degree.nameศึกษาศาสตรมหาบัณฑิตth_TH
dc.degree.levelปริญญาโทth_TH
dc.degree.disciplineสาขาวิชาศึกษาศาสตร์th_TH
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
Appears in Collections:Edu-Independent study

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
fulltext_127238.pdfเอกสารฉบับเต็ม4.28 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons