Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/667
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorพัทยา แก้วสาร, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.advisorบุญทิพย์ สิริธรังศรี, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.authorอุไรวรรณ แก้วเพชร, 2512--
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สำนักบัณฑิตศึกษาth_TH
dc.date.accessioned2022-08-17T07:24:17Z-
dc.date.available2022-08-17T07:24:17Z-
dc.date.issued2559-
dc.identifier.urihttp://ir.stou.ac.th/handle/123456789/667-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (พย.ม. (บริหารการพยาบาล))--มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช, 2559th_TH
dc.description.abstractการวิจัยเชิงพรรณนาครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษา (1) ภาวะผู้นำแบบบริการ ของหัวหน้าหอผู้ป่วย (2) สมรรถนะในการปฏิบัติงานของพยาบาลวิชาชีพ และ (3) ภาวะผู้นำแบบบริการ ของหัวหน้าหอผู้ป่วยที่มีอิทธิผลต่อสมรรถนะในการปฏิบัติงานของพยาบาลวิชาชีพ หอผู้ป่วยใน โรงพยาบาลชุมชน จังหวัดนครราชสีมา กลุ่มตัวอย่างเป็นพยาบาลวิชาชีพระดับปฏิบัติการ จำนวน 256 คน ได้จากการสุ่มตัวอย่างแบบง่ายจากจำนวนประชากร 765 คน ที่ปฏิบัติงานในหอผู้ป่วย โรงพยาบาลชุมชน จังหวัดนครราชสีมา 29 แห่ง เครื่องมือวิจัยเป็นแบบสอบถามพัฒนาโดยณัฎชากรณ์ เทโหปการ (2552) และสิริลักษณ์ อยู่เย็น (2552) ประกอบด้วย 3 ส่วน ดังนี้ 1) ข้อมูลทั่วไปของผู้ตอบแบบสอบถาม 2) ภาวะผู้นำแบบบริการของหัวหน้าหอผู้ป่วยพัฒนาตามแนวคิดของ Robert K. Greenleaf (1998) และ 3) สมรรถนะในการปฏิบัติงานของพยาบาลวิชาชีพ พัฒนาจากข้อกาหนดสมรรถนะสภาการพยาบาล(2553) 8 ด้าน ผ่านการตรวจสอบความตรงตามเนื้อหามีค่าดัชนีความตรงเชิงเนื้อหาของ แบบสอบถามส่วนที่ 2 และส่วนที่ 3 เท่ากันคือ 0.93 และนำมาทดสอบหาค่าความเที่ยงได้ค่า สัมประสิทธิ์แอลฟาของครอนบาค ในส่วนที่ 2 และส่วนที่ 3 เท่ากับ 0.98 และ 0.96 ตามลำดับ วิเคราะห์ข้อมูลโดยการหาค่าร้อยละค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน ค่าสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์ ของเพียร์สัน และวิเคราะห์ถดถอยพหุคูณแบบเพิ่มตัวแปรเป็นขั้นตอน ผลการวิจัยพบว่า (1) ภาวะผู้นำแบบบริการของหัวหน้าหอผู้ป่วยตามการรับรู้ของ พยาบาลวิชาชีพโดยรวมอยูในระดับสูง (X̅ = 3.99, SD = 0.618) (2) สมรรถนะในการปฏิบัติงาน ของพยาบาลวิชาชีพโดยรวมอยู่ในระดับสูง (X̅ = 4.00, SD = 0.435) และ (3) ภาวะผู้นำแบบบริการ ของหัวหน้าหอผู้ป่วยสามารถพยากรณ์สมรรถนะในการปฏิบัติงานของพยาบาลวิชาชีพได้ร้อยละ 28.7 (R2 = 28.7)th_TH
dc.formatapplication/pdfen_US
dc.language.isothth_TH
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)en_US
dc.rights.urihttps://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/en_US
dc.sourceBorn digitalen_US
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาพยาบาลศาสตร์ --วิทยานิพนธ์th_TH
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. แขนงวิชาการบริหารการพยาบาล --วิทยานิพนธ์th_TH
dc.subjectภาวะผู้นำใฝ่บริการth_TH
dc.titleอิทธิพลของภาวะผู้นำแบบบริการของหัวหน้าหอผู้ป่วยต่อสมรรถนะในการปฏิบัติงานของพยาบาลวิชาชีพโรงพยาบาลชุมชน จังหวัดนครราชสีมาth_TH
dc.title.alternativeThe influence of servant leadership of head nurses on competency practices of staff nurses at community hospitals in Nakorn Ratchasima Provinceth_TH
dc.typeThesisth_TH
dc.degree.nameพยาบาลศาสตรมหาบัณฑิตth_TH
dc.degree.levelปริญญาโทth_TH
dc.degree.disciplineสาขาวิชาพยาบาลศาสตร์th_TH
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.description.abstractalternativeThe purposes of this descriptive study were: (1) to investigate the level of servant leadership of head nurses, (2) to study competency practices of staff nurses, and (3) to identify influence of servant leadership of head nurses on competency practices of staff nurses at Community Hospitals in Nakorn Ratchasima Province. The sample comprised 256 staff nurses who worked at Community Hospitals, Nakorn Ratchasima Province. They were selected by simple random sampling from the population of 765. Questionnaires were used as research tools, developed by Natchakorn Tahopakan (2009) and Sirilak Youyen (2009) and comprised three sections: personal factors, servant leadership of head nurses which based on the concept of Robert K. Greenleaf ( 1998) , and competency practices of staff nurses which based on the regulations of Thai Nursing Council (2010). The questionnaires were tested for validity (both the second and the third sections were equal [0.93]) and reliability. The reliability of the second and the third sections were 0.98 and 0.96 respectively. Data were analyzed by frequency, percentage, mean, standard deviation, Pearson’s product moment correlation, and stepwise multiple regression. The major findings were as follows. (1) Staff nurses rated servant leadership of their head nurses at the high level (M =3.99,SD = 0.681). (2) They rated their nursing competency practices at the high level (M=4.00, SD = 0.435). and (3) Servant leadership of head nurses predicted competency practices of staff nurses. This predictor accounted for 28.7 % (R2 = 0.287)en_US
Appears in Collections:Nurse-Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
fulltext 153705.pdfเอกสารฉบับเต็ม12.76 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons