Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/6681
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorปภาวดี มนตรีวัต, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.advisorไตรรัตน์ โภคพลากรณ์, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.authorสุภาพร กิตตินันทะศิลป์, 2520--
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สำนักบัณฑิตศึกษาth_TH
dc.date.accessioned2023-06-23T03:13:40Z-
dc.date.available2023-06-23T03:13:40Z-
dc.date.issued2554-
dc.identifier.urihttps://ir.stou.ac.th/handle/123456789/6681-
dc.description.abstractการวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษา (1) ระดับความผูกพันต่อองค์กรของบุคลากร สำนักงานเศรษฐกิจการเกษตร (2) ปัจจัยที่มีผลต่อความผูกพันต่อองค์กรของบุคลากรสำนักงาน เศรษฐกิจการเกษตร และ (3) แนวทางในการเสริมสร้างระดับความผูกพันต่อองค์กรของบุคลากร สำนักงานเศรษฐกิจการเกษตร ประชากร ได้แก่ บุคลากรของสำนักงานเศรษฐกิจการเกษตร จำนวน 1,030 คน กลุ่มตัวอย่าง จำนวน 289 คน คำนวณจากสูตรของทาโร ยามาเน่ โดยสุ่มตัวอย่างอย่างง่าย เครื่องมือ ที่ใช้คือ แบบสอบถาม สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ ความถี่ ร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบน มาตรฐาน สัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์ และการถดถอยพหุคูณแบบขั้นตอน ผลการศึกษา พบว่า (1) ความผูกพันต่อองค์กรของบุคลากรสำนักงานเศรษฐกิจการเกษตร อยู่ในระดับมาก (2) ปัจจัยที่มีผลต่อความผูกพันต่อองค์กรบุคลากรสำนักงานเศรษฐกิจการเกษตร ได้แก่ ความมั่นคงในงาน ความสัมพันธ์กับผู้บังคับบัญชา และความสัมพันธ์กับเพื่อนร่วมงาน โดยตัว แปรอิสระทั้ง 3 ตัว สามารถพยากรณ์ความผูกพันต่อองค์กรได้ร้อยละ 61.20 (3) แนวทางในการ เสริมสร้างระดับความผูกพันต่อองค์กรของบุคลากรสำนักงานเศรษฐกิจการเกษตร ได้แก่ ควร จัดระบบการพิจารณาความดีความชอบเพื่อเลื่อนขั้นเงินเดือนและเงินโบนัสให้มีความเหมาะสมและ ยุติธรรม เพิ่มสวัสดิการของพนักงานราชการให้ใกล้เคียงกันกับข้าราชการหรือลูกจ้างประจำ จัดให้มี กิจกรรม เช่น ทัศนศึกษาและทำกิจกรรมสาธารณประโยชน์ร่วมกัน เพื่อสร้างความสัมพันธ์ที่ดี ระหว่างเพื่อนร่วมงานทั้งในหน่วยงานส่วนกลางและหน่วยงานส่วนภูมิภาคth_TH
dc.formatapplication/pdfen_US
dc.language.isothth_TH
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.relation.urihttps://www.doi.org/10.14457/STOU.the.2011.207en_US
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)en_US
dc.rights.urihttps://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/en_US
dc.sourceBorn digitalen_US
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาวิทยาการจัดการ -- วิทยานิพนธ์th_TH
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. แขนงวิชาบริหารรัฐกิจ -- วิทยานิพนธ์th_TH
dc.subjectสำนักงานเศรษฐกิจการเกษตร -- ข้าราชการและพนักงานth_TH
dc.subjectความผูกพันต่อองค์การth_TH
dc.titleความผูกพันต่อองค์กรของบุคลากรสำนักงานเศรษฐกิจการเกษตรth_TH
dc.title.alternativeThe organizational commitment of the personnel of the Office of Agricultural Economicsth_TH
dc.typeThesisth_TH
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.description.abstractalternativeThe objectives of this research were to study (1) level of organizational commitment of personnel of the Office of Agricultural Economics (2) factors affect organizational commitment of personnel of the Office of Agricultural Economics (3) guidelines enhance the organizational Commitment of Personnel of the Office of Agricultural Economics. Population comprised 1,030 personnel of the Office of Agricultural Economics from which samples of 289 were drawn via Taro Yamane formula. Simple random sampling had been used. Instrument used was questionnaire. Statistical tools employed were frequency, percentage, means, standard deviation, correlation coefficients and stepwise regression analysis. Research results revealed the follows (1) organizational commitment of the Office of Agricultural Economics was at high level (2) factors affecting organizational commitment of the personnel of the Office of Agricultural Economics were job security, relationships with superiors, and relationships with peers; all three variables could predict organizational commitment of personnel at 61.20 percent (3) guidelines to enhance organizational commitment of personnel the Office of Agricultural Economics includes the arrangement of an appropriate and fair promotions system, which would result in fair and equitable salaries and bonuses; an increase of government employees’ welfare so to make it similar to that of civil servants and permanent staff; the provision of activities such as field trips and group recreational activities so as to create good relationships between colleague officials from central and provincial agenciesen_US
Appears in Collections:Manage-Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
128221.pdfเอกสารฉบับเต็ม1.64 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons