Please use this identifier to cite or link to this item:
https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/6683
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.advisor | นิตยา ภัสสรศิริ | th_TH |
dc.contributor.author | โชคชัย แสงสว่าง, 2523- | th_TH |
dc.contributor.other | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาศึกษาศาสตร์ | th_TH |
dc.date.accessioned | 2023-06-23T03:23:55Z | - |
dc.date.available | 2023-06-23T03:23:55Z | - |
dc.date.issued | 2552 | - |
dc.identifier.uri | https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/6683 | en_US |
dc.description.abstract | การวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) ศึกษาการบริหารงานระบบดูแลช่วยเหลือนักเรียนของ โรงเรียนมัธยมศึกษา สังกัด สํานักงานเขตพื้นที่การศึกษา กาฬสินธุ์ เขต 2 ตามความคิดเห็นของผู้บริหารและครู (2) เปรียบเทียบความคิดเห็นของผู้บริหาร และครู เกี่ยวกับการบริหารงานระบบดูแลช่วยเหลือนักเรียน และ (3) ศึกษาปัญหา และข้อเสนอแนะในการแก้ไขปัญหาการบริหารงานระบบดูแลช่วยเหลือนักเรียนตามความคิดเห็นของผู้บริหาร และครูกลุ่มตัวอย่างได้แก่ ผู้บริหาร 30 คน และครู 176 คน รวม 206 คน จากโรงเรียนมัธยมศึกษา สังกัดสํานักงานเขตพื้นที่การศึกษากาฬสินธุ์ เขต 2 เครื่องมือการวิจัย ได้แก่ แบบสอบถามแบบมาตรประมาณค่า 5 ระดับ มีค่าความเที่ยง 96 สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ ค่าเฉลี่ย ค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน และการทดสอบค่าทีผลการวิจัยพบว่า (1) การบริหารงานระบบดูแลช่วยเหลือนักเรียนตามความคิดเห็นของผู้บริหาร และครู โดยภาพรวมมีการปฏิบัติอยู่ในระดับมาก และเมื่อพิจารณาเป็นรายด้าน พบว่า ส่วนใหญ่มีการปฏิบัติอยู่ในระดับมาก ยกเว้น ด้านการปรับปรุง พัฒนา สรุปรายงาน และประชาสัมพันธ์มีการปฏิบัติอยู่ในระดับปานกลาง (2) การบริหารงานระบบดูแลช่วยเหลือนักเรียนของโรงเรียนดังกล่าวโดยภาพรวมผู้บริหาร และครูมีความคิดเห็นว่ามีการปฏิบัติแตกต่างกัน เมื่อพิจารณารายด้านพบว่าด้านที่มีความคิดเห็นว่ามีการปฏิบัติ แตกต่างกันอย่างมีนัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ .05 ได้แก่ ด้านการกําหนดทิศทางและกลยุทธ์ ด้านการวางระบบและแผนการบริหารงาน และด้านการปรับปรุง พัฒนา สรุปรายงานและประชาสัมพันธ์ โดยคะแนนความคิดเห็นของผู้บริหารสูงกว่าครูทุกด้าน ส่วนด้านอื่น ๆ มีความคิดเห็นไม่แตกต่างกัน 3) ปัญหา และข้อเสนอแนะในการแก้ไขปัญหาการบริหารงานระบบดูแลช่วยเหลือนักเรียนตามความเห็นของผู้บริหาร และครูมีความเหมือนกัน ปัญหาสําคัญได้แก่ บุคลากรขาดความรู้ความเข้าใจในงานที่ปฏิบัติ การกําหนดมาตรฐานงานไม่ครอบคลุมและสูงเกินไป ขาดการวางระบบงาน ขาดการติดตามและ นิเทศงาน สําหรับข้อเสนอแนะในการแก้ไขปัญหาการบริหารงาน ได้แก่ การพัฒนาบุคลากร การมีส่วนร่วมในการวางมาตรฐาน การวางระบบงาน และการนิเทศติดตามงาน ๆ | th_TH |
dc.format | application/pdf | en_US |
dc.language.iso | th | en_US |
dc.publisher | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช | th_TH |
dc.rights | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช | th_TH |
dc.rights | Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0) | en_US |
dc.rights.uri | https://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/ | en_US |
dc.source | Reformatted digital | en_US |
dc.subject | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาศึกษาศาสตร์--การศึกษาเฉพาะกรณี | th_TH |
dc.subject | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. แขนงวิชาการบริหารการศึกษา--การศึกษาเฉพาะกรณี | th_TH |
dc.subject | นักเรียน--การดูแล | th_TH |
dc.subject | การศึกษาอิสระ--บริหารการศึกษา | th_TH |
dc.title | การบริหารงานระบบดูแลช่วยเหลือนักเรียนของโรงเรียนมัธยมศึกษา สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษา กาฬสินธุ์ เขต 2 | th_TH |
dc.title.alternative | Management of the student help-care system of secondary schools under the Office of Kalasin Educational Service Area 2 | en_US |
dc.type | Thesis | en_US |
dc.degree.name | ศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต | th_TH |
dc.degree.level | ปริญญาโท | th_TH |
dc.degree.discipline | สาขาวิชาศึกษาศาสตร์ | th_TH |
dc.degree.grantor | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช | th_TH |
Appears in Collections: | Edu-Independent study |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
fulltext_128673.pdf | เอกสารฉบับเต็ม | 4.75 MB | Adobe PDF | View/Open |
This item is licensed under a Creative Commons License