Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/6684
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorปภาวดี มนตรีวัต, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.advisorอิทธิเดช จันโททัย, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.authorถนอมพรรณ เพิ่มพูน, 2517--
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สำนักบัณฑิตศึกษาth_TH
dc.date.accessioned2023-06-23T03:27:59Z-
dc.date.available2023-06-23T03:27:59Z-
dc.date.issued2554-
dc.identifier.urihttps://ir.stou.ac.th/handle/123456789/6684-
dc.description.abstractการวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) ศึกษาระดับความผูกพันต่อองค์กรของบุคลากร กรมพินิจและคุ้มครองเด็กและเยาวชน (2) เปรียบเทียบความผูกพันต่อองค์กรของบุคลากรกรมพินิจ และคุ้มครองเด็กและเยาวชนจำแนกตามประเภทบุคลากรของรัฐ (3) ศึกษาปัจจัยที่มีผลต่อความ ผูกพันต่อองค์กรของบุคลากรกรมพินิจและคุ้มครองเด็กและเยาวชน และ (4) ศึกษาปัญหา อุปสรรค และข้อเสนอแนะแนวทางในการเสริมสร้างความผูกพันต่อองค์กรของบุคลากรกรมพินิจและ คุ้มครองเด็กและเยาวชน ประชากรที่ใช้ในการวิจัยครั้งนี้ ได้แก่ บุคลากรของกรมพินิจและคุ้มครองเด็กและ เยาวชน จำนวน 3,835 คน กลุ่มตัวอย่าง เป็นตัวแทนของบุคลากร จำนวน 363 คน ใช้แบบสอบถาม เป็นเครื่องมือในการวิจัย สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ ความถี่ ร้อยละ ค่าเฉลี่ยส่วน เบี่ยงเบนมาตรฐาน การวิเคราะห์ความแปรปรวนทางเดียว และการวิเคราะห์การถดถอยเชิงพหุ ผลการวิจัยพบว่า (1) บุคลากรของกรมพินิจและคุ้มครองเด็กและเยาวชน มีความ ผูกพันต่อองค์กรในระดับมาก (2) ข้าราชการ กับ ลูกจ้างประจำ และลูกจ้างประจำ กับ พนักงาน ราชการ มีความผูกพันต่อองค์กรแตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญที่ระดับ .05 ส่วนพนักงานราชการ กับ ข้าราชการ มีความผูกพันต่อองค์กรไม่แตกต่างกัน (3) ปัจจัยที่มีผลต่อความผูกพันต่อองค์กรมาก ที่สุด ได้แก่ ความรู้สึกว่าตนเองมีความสำคัญต่อองค์กร รองลงมา ได้แก่ ผลป้อนกลับของงาน และ ทัศนคติของกลุ่มทำงาน (4) ปัญหา อุปสรรคในการเสริมสร้างความผูกพันต่อองค์กร ได้แก่ ทัศนคติของ กลุ่มทำงานที่มีผลต่อองค์กร การปฏิบัติตัวของผู้บังคับบัญชา และความก้าวหน้าในการทำงาน ข้อเสนอแนะแนวทางในการเสริมสร้างความผูกพันต่อองค์กร ได้แก่ องค์การควรส่งเสริมการให้ ความสำคัญกับบุคลากร รวมทั้งการบริหารผลการปฏิบัติงาน ควรมีการสร้างทัศนคติที่ดีต่อองค์กร และส่งเสริมโอกาสความก้าวหน้าในงานของบุคลากรth_TH
dc.formatapplication/pdfen_US
dc.language.isothth_TH
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.relation.urihttps://www.doi.org/10.14457/STOU.the.2011.258en_US
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)en_US
dc.rights.urihttps://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/en_US
dc.sourceBorn digitalen_US
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. แขนงวิชาบริหารรัฐกิจ -- วิทยานิพนธ์th_TH
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาวิทยาการจัดการ -- วิทยานิพนธ์th_TH
dc.subjectกรมพินิจและคุ้มครองเด็กและเยาวชน. -- ข้าราชการth_TH
dc.subjectความผูกพันต่อองค์การth_TH
dc.titleความผูกพันต่อองค์กรของบุคลากรกรมพินิจและคุ้มครองเด็กและเยาวชนth_TH
dc.title.alternativeOrganizational commitment of personnel in the Department of Juvenile Observation and Protectionth_TH
dc.typeThesisth_TH
dc.degree.nameบริหารธุรกิจมหาบัณฑิตth_TH
dc.degree.levelปริญญาโทth_TH
dc.degree.disciplineสาขาวิชาวิทยาการจัดการth_TH
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.description.abstractalternativeThe purposes of this research were to (1) study the level of organizational commitment of personnel in the Department of Juvenile Observation and Protection (2) compare the organizational commitment of personnel in the Department of Juvenile Observation and Protection by personal factors (3) study the factors affecting the organizational commitment of personnel in the Department of Juvenile Observation and Protection, and (4) study the problems and recommend appropriate approach to enhance organizational commitment of personnel in the Department of Juvenile Observation and Protection. Population consisted of 3,835 personnel in the Department of Juvenile Observation and Protection, from which 363 samples were drawn. Instrument used was questionnaire. Statistical tools employed were frequency, percentage, mean, standard deviation, one-way ANOVA and multiple regression analysis. Research result revealed that (1) organizational commitment of personnel in the Department of Juvenile Observation and Protection was at high level (2) when compared organizational commitment of government officials and permanent employees; and that of permanent employees with government employees, differences were found with .05 level of statistical significance; while no difference was found between organizational commitment of government employees and government officials (3) factor most affected organizational commitment was personnel feelings of importance to organization, next were job feedback and attitude of work group (4) major problems to enhance organizational commitment were : attitude of work group, supervisors’ conduct and work advancement; recommendations were: the organization should put more emphasis on personnel recognition, performance management should be considered important, positive attitude of personnel should be enhanced, together with the provision of work advancement opportunitiesen_US
Appears in Collections:Manage-Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
128224.pdfเอกสารฉบับเต็ม1.91 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons