Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/668
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorปัทมาพร เย็นบำรุง, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.advisorชุติมา สัจจานันท์, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.advisorเสน่ห์ จุ้ยโต, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.authorจิรพา กุลชาติวิชิต, 2503--
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สำนักบัณฑิตศึกษาth_TH
dc.date.accessioned2022-08-17T07:24:18Z-
dc.date.available2022-08-17T07:24:18Z-
dc.date.issued2551-
dc.identifier.urihttp://ir.stou.ac.th/handle/123456789/668-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (ศศ.ม. (สารสนเทศศาสตร์))--มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช, 2551th_TH
dc.description.abstractการวิจัยนี้เป็นการวิจัยเชิงพัฒนา มีวัตถุประสงค์เพื่อพัฒนาแนวปฏิบัดิที่ดีในการผลิด ข้อมูลสถิติของสำนักงานสถิติจังหวัด กระบวนการวิจัย ประกอบด้วย 7 ขั้นตอน ได้แก่ 1) การศึกษาเอกสารและงานวิจัยเกี่ยวกับการผลิตข้อมูลสถิติและการจัดทำแนวปฏิบัติที่ดี 2) การวิเคราะห์เอกสารเกี่ยวกับแนวปฏิบัติในการผลิตข้อมูลสถิติของหน่วยงานสถิติระดับประเทศ 4 หน่วยงาน ได้แก่ สำนักงานสถิติแห่งชาติประเทศไทย สำนักงานสถิติประเทศสหพันธ์ สาธารณรัฐเยอรมนี สำนักงานสถิติประเทศสหรัฐเมริกา และสำนักงานสถิติประเทศแคนาดา 3) การเปรียบเทียบแนวปฏิบัติในการผลิตข้อมูลสถิติของประเทศไทยและด่างประเทศ 4) การจัดทำ ร่างแนวปฏิบัติที่ดีในการผลิตข้อมูลสถิติของสำนักงานสถิติจังหวัด 5) การประชุมสนทนากลุ่ม โดยผู้ทรงคุณวุฒิ ประกอบด้วย ผู้บริหารจากสำนักงานสถิติแห่งชาติและ สำนักงานสถิติจังหวัด จำนวน 3 คน และผู้เชี่ยวชาญด้านวิชาการสถิติ จำนวน 4 คน เพื่อวิพากษ์ร่างแนวปฏิบัติที่ดี ที่พัฒนาขึ้น 6) การปรับปรุงร่างแนวปฏิบัติที่ดีที่พัฒนาขึ้นตามข้อเสนอแนะ และ 7) การจัดทำ แนวปฏิบัติที่ดีในการผลิตข้อมูลสถิติของสำนักงานสถิติจังหวัด ผลการวิจัยพบว่าแนวปฏิบัติที่ดีที่พัฒนาขึ้น จำแนกเป็น 8 ขั้นตอน 1) การกำหนดความ ต้องการข้อมูลสถิติ 2) การวางแผนและเตรียมงาน 3) การเก็บรวบรวมข้อมูล 4) การบรรณาธิกรและ ประมวลผลข้อมูล 5) การวิเคราะห์ข้อมูล 6) การประเมินคุณภาพข้อมูล 7) การนำเสนอและเผยแพร่ ข้อมูลสถิติ และ 8) การประกันคุณภาพการผลิตข้อมูลสถิติ แด่ละขั้นตอนกำหนดแนวทางการ ดำเนินงาน และผู้รับผิดชอบ ซึ่งประกอบด้วย นักวิชาการสถิติ และเจ้าพนักงานสถิติth_TH
dc.formatapplication/pdfen_US
dc.language.isothth_TH
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)en_US
dc.rights.urihttps://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/en_US
dc.sourceBorn digitalen_US
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาศิลปศาสตร์ --วิทยานิพนธ์th_TH
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. แขนงวิชาสารสนเทศศาสตร์ --วิทยานิพนธ์th_TH
dc.subjectสถิติ--ข้อมูลth_TH
dc.titleการพัฒนาแนวปฏิบัติที่ดีในการผลิตข้อมูลสถิติของสำนักงานสถิติจังหวัดth_TH
dc.title.alternativeThe development of best practices in producing statistical data for provincial statistical officesth_TH
dc.typeThesisth_TH
dc.degree.nameศิลปศาสตรมหาบัณฑิตth_TH
dc.degree.levelปริญญาโทth_TH
dc.degree.disciplineสาขาวิชาศิลปศาสตร์th_TH
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.description.abstractalternativeThe study was a research and development. The purpose of this research was to develop best practices in producing statistical data for Thailand’s provincial statistical offices. The research methodology included 1) reviewing research and other documents relevant to statistical data production and best practice concepts, 2) analyzing various practices in producing statistical data from 4 national statistical offices namely, National Statistical Office of Thailand, Federal Statistical Office of Germany, United States Census Bureau, and Statistics Canada, 3) comparing all of these practices, 4) drafting best practices in producing statistical data for the provincial statistical offices, 5) conducting a focus group comprising 3 administrators from National Statistical Office of Thailand and provincial statistical offices, and 4 statistics experts to comment on the draft, 6) improving the draft according to comments from the focus group, and 7) making a complete version of the best practices in producing statistical data for the provincial statistical offices. The best practices which was the result of the study consisted of 8 steps, i.e., 1) identifying data demand, 2) planning and preparation, 3) data collection, 4) editing and data processing, 5) data analysis, 6) data quality evaluation, 7) presentation and dissemination, and 8) quality assurance in statistical data production. Each step covered detailed guidelines and related personnelen_US
Appears in Collections:Arts-Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
fulltext (5).pdfเอกสารฉบับเต็ม4.04 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons