Please use this identifier to cite or link to this item:
https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/6690
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.advisor | รัตนา ดวงแก้ว | th_TH |
dc.contributor.author | ซาณีตา สามะเด็ง, 2518- | th_TH |
dc.contributor.other | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาศึกษาศาสตร์ | th_TH |
dc.date.accessioned | 2023-06-23T04:17:04Z | - |
dc.date.available | 2023-06-23T04:17:04Z | - |
dc.date.issued | 2554 | - |
dc.identifier.uri | https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/6690 | en_US |
dc.description.abstract | การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษา และเปรียบเทียบพฤติกรรมการบริหารความ ขัดแย้งของผู้บริหารสถานศึกษาตามทัศนะของครู สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษายะลา เขต 2 โดยจำแนกตามเพศ ประสบการณ์ในการปฏิบัติงานของผู้บริหารและขนาดของสถานศึกษาประชากร ได้แก่ ผู้บริหารสถานศึกษา สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษายะลา เขต 2 จำนวน 72 คน ผู้ให้ข้อมูลได้แก่ ครู จำนวน 302 คน เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย ได้แก่ แบบสอบถามครูเกี่ยวกับพฤติกรรมการบริหารความขัดแย้งของผู้บริหารสถานศึกษา มีค่าความเที่ยง .94 และแบบบันทึกข้อมูลพื้นฐานของสถานศึกษา สถิติที่ใช้ ได้แก่ ร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และการวิเคราะห์ความแปรปรวนทางเดียว การทดสอบสมมติฐานใช้ระดับความมีนัยสำคัญ .05 ผลการศึกษา พบว่า (1) พฤติกรรมการบริหารความขัดแย้งของผู้บริหารสถานศึกษาตามทัศนะของครูสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษายะลา เขต 2 ส่วนใหญ่เป็นแบบการผสมผสาน และแบบการประนีประนอมซึ่งปฏิบัติในระดับบ่อยครั้ง รองลงมา คือ พฤติกรรมการบริหารความขัดแย้งแบบการยอมตาม แบบการหลีกเลี่ยง และแบบการเอาชนะ ซึ่งปฏิบัติในระดับเป็นบางครั้ง (2) ผู้บริหารสถานศึกษาเพศหญิงและเพศชายมีพฤติกรรมการบริหารความขัดแย้งแตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 ในเรื่องการบริหารความขัดแย้งแบบยอมตามแบบหลีกเลี่ยง และแบบประนี ประนอม โดยผู้บริหารสถานศึกษาเพศหญิงค่อนข้างปฏิบัติในระดับบ่อยครั้งมากกว่าผู้บริหารสถานศึกษาเพศชาย ส่วนผู้บริหารสถานศึกษาที่มีประสบการณ์ในการปฏิบัติงานแตกต่างกันและสถานศึกษาที่มีขนาดแตกต่างกันมีพฤติกรรมการบริหารความขัดแย้งของผู้บริหารสถานศึกษาไม่แตกต่างกัน | th_TH |
dc.format | application/pdf | en_US |
dc.language.iso | th | en_US |
dc.publisher | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช | th_TH |
dc.rights | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช | th_TH |
dc.rights | Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0) | en_US |
dc.rights.uri | https://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/ | en_US |
dc.source | Born digital | en_US |
dc.subject | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาศึกษาศาสตร์--การศึกษาเฉพาะกรณี | th_TH |
dc.subject | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. แขนงวิชาบริหารการศึกษา--การศึกษาเฉพาะกรณี | th_TH |
dc.subject | การบริหารความขัดแย้ง--ไทย--ยะลา | th_TH |
dc.title | พฤติกรรมการบริหารความขัดแย้งของผู้บริหารสถานศึกษาตามทัศนะของครู สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษายะลา เขต 2 | th_TH |
dc.title.alternative | School administrators' conflict management behaviors as perceived by teachers under the office of Yala Primary Education Service Area 2 | en_US |
dc.type | Thesis | en_US |
dc.degree.name | ศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต | th_TH |
dc.degree.level | ปริญญาโท | th_TH |
dc.degree.discipline | สาขาวิชาศึกษาศาสตร์ | th_TH |
dc.degree.discipline | The purposes of this independent study were to study and compare school administrators’ conflict management behaviors as perceived by teachers under the Office of Yala Primary Education Service Area 2, as classified by the administrator’s gender and administration experience, and school size. The research population comprised 72 school administrators under the Office of Yala Primary Education Service Area 2. The research informants consisted of 302 teachers. The employed research instruments were a questionnaire for teachers on their perception of the school administrator’s conflict management behaviors, with reliability coefficient of .94, and an inventory form on basic information of the school. Statistics used for data analysis were the mean, standard deviation, and one-way analysis of variance. The .05 significance level was predetermined for hypothesis testing. The research findings were as follows: (1) conflict management behaviors of the majority of school administrators under the Office of Yala Primary Education Service Area2, as perceived by teachers, were of the integrated and compromise styles which were practiced at the often level, to be followed by the obliging, avoidance, and power enforcement styles which were practiced at the occasional level; and (2) as for comparison results of conflict management behaviors of school administrators, it was found that school administrators with different genders differed significantly in their obliging, avoiding, and compromising conflict management styles at the .05 level, with female administrators practicing those styles more often than male administrators; while no significant difference in conflict management behavior styles was found between those of school administrators with difference administration experiences and between those of administrators of schools with different sizes. | en_US |
dc.degree.grantor | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช | th_TH |
Appears in Collections: | Edu-Independent study |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
fulltext_128690.pdf | เอกสารฉบับเต็ม | 3.42 MB | Adobe PDF | View/Open |
This item is licensed under a Creative Commons License