Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/6694
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorณรงค์ศักดิ์ บุญเลิศ, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.advisorอมรรัตน์ ภิญโญอนันตพงษ์, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.authorสจี รุจิฉาย, 2522--
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สำนักบัณฑิตศึกษาth_TH
dc.date.accessioned2023-06-23T06:10:11Z-
dc.date.available2023-06-23T06:10:11Z-
dc.date.issued2554-
dc.identifier.urihttps://ir.stou.ac.th/handle/123456789/6694-
dc.description.abstractการศึกษาครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) ศึกษาปัจจัยที่มีผลต่อประสิทธิภาพการผลิตสิ่งพิมพ์ ของโรงพิมพ์ในภาคตะวันออกเฉียงเหนือตอนบนของประเทศไทย และ (2) เปรียบเทียบระดับความคิดเห็น เกี่ยวกับปัจจัยที่มีผลต่อประสิทธิภาพการผลิตสิ่งพิมพ์ของโรงพิมพ์ในภาคตะวันออกเฉียงเหนือตอนบนของ ประเทศไทย จำแนกตาม คุณลักษณะส่วนบุคคล และคุณลักษณะด้านองค์กร การวิจัยนี้เป็นการวิจัยเชิงสำรวจโดยใช้แบบสอบถามเป็นเครื่องมือ ประชากร ได้แก่ ผู้บริหารโรง พิมพ์หรือเจ้าของสถานประกอบการโรงพิมพ์ หัวหน้าฝ่ายผลิต และพนักงานฝ่ายผลิตที่อยู่ใน 10 จังหวัด ของ ภาคตะวันออกเฉียงเหนือตอนบนของประเทศไทย จำนวน 371 คน โดยกำหนดกลุ่มตัวอย่างตามวิธีของทาโร่ ยามาเน่ ได้กลุ่มตัวอย่างจำนวน 193 คน เครื่องมือที่ใช้ในการศึกษา คือ แบบสอบถามซึ่งได้ค่าความเชื่อมั่นเท่ากับ 0.915 สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล คือ สถิติเชิงพรรณนา ได้แก่ ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และสถิติเชิงอนุมาน ได้แก่การทดสอบค่าที และการทดสอบค่าเอฟ ผลการศึกษาพบว่า (1) คือปัจจัยด้านบุคลากรผู้ปฏิบัติงานมีผลต่อประสิทธิภาพการผลิตสิ่งพิมพ์ อยู่ในระดับมาก รองลงมาคือ ด้านบริหารจัดการ และด้านเครื่องจักรเทคโนโลยี โดยใช้สถิติเชิงพรรณนา คือ ค่าเฉลี่ย และส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน (2) เปรียบเทียบระดับความคิดเห็นเกี่ยวกับปัจจัยที่มีผลต่อประสิทธิภาพการ ผลิตสิ่งพิมพ์ของโรงพิมพ์ในภาคตะวันออกเฉียงเหนือตอนบนของประเทศไทย จำแนกตาม คุณลักษณะส่วน บุคคล และคุณลักษณะด้านองค์กร 1) โดยการเปรียบเทียบระดับความคิดเห็นเกี่ยวกับปัจจัยที่มีผลต่อ ประสิทธิภาพการผลิตสิ่งพิมพ์ของโรงพิมพ์ จำแนกตาม คุณลักษณะส่วนบุคคล พบว่า ในด้านระดับการศึกษา และตำแหน่งงานที่ต่างกันมีผลต่อประสิทธิภาพการผลิตสิ่งพิมพ์แตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05 โดยใช้สถิติการทดสอบค่าเอฟ และ 2) การเปรียบเทียบระดับความคิดเห็นเกี่ยวกับปัจจัยที่มีผลต่อ ประสิทธิภาพการผลิตสิ่งพิมพ์ของโรงพิมพ์ จำแนกตาม คุณลักษณะส่วนองค์กร พบว่า ในด้านจำนวนพนักงาน และระยะเวลาในการเปิ ดดำเนินงาน มีผลต่อประสิทธิภาพการผลิตสิ่งพิมพ์แตกต่างกัน อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ ระดับ 0.05 โดยใช้สถิติการทดสอบค่าเอฟth_TH
dc.formatapplication/pdfen_US
dc.language.isothth_TH
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)en_US
dc.rights.urihttps://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/en_US
dc.sourceBorn digitalen_US
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. แขนงวิชาบริหารธุรกิจ -- วิทยานิพนธ์th_TH
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาวิทยาการจัดการ -- วิทยานิพนธ์th_TH
dc.subjectสิ่งพิมพ์ -- การผลิตth_TH
dc.titleปัจจัยที่มีผลต่อประสิทธิภาพการผลิตสิ่งพิมพ์ของโรงพิมพ์ในภาคตะวันออกเฉียงเหนือตอนบนของประเทศไทยth_TH
dc.title.alternativeFactors affecting the efficiency of the production printing in the Upper Northeast of Thailandth_TH
dc.typeThesisth_TH
dc.degree.nameบริหารธุรกิจมหาบัณฑิตth_TH
dc.degree.levelปริญญาโทth_TH
dc.degree.disciplineสาขาวิชาวิทยาการจัดการth_TH
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.description.abstractalternativeThe purposes of this study were 1) to study the factors affecting the efficiency of the printing production in the Upper Northeast of Thailand 2) to compare the opinion with the efficiency affect factors of the printing production of the printing press in the Upper Northeast of Thailand by personal characteristics and organizational features. This study was a survey research by asking executive publishers or owners of a printing establishment operators, chief of staffs, and production staffs in 10 provinces of the Northeast of Thailand on a sample of 371 people by the way of acne medicine of Taro Yamane, the samples of 193 people. The tools used in the study was questionnaires, which the confidence at 0.915. The statistical analysis was descriptive statistics such as the average percentage standard deviation, analysis and statistical inference, including the t-test value, and the F-test. The results of these analyses showed that (1) personal worker factors were affect to printed productivity in high level followed by the administration, machinery and technology. Using descriptive statistics, the average and standard deviation. (2) to compare the opinion with the efficiency affect factors of the printing production of the printing press in the Upper Northeast of Thailand by personal characteristics and organizational features. : 1) to compare the opinion with the factors of the efficiency affecting of the printing production by personal characteristics, found that: the field of education, different positions were affected the efficiency performance in different publications at significant level of 0.05, by analysis and statistical inference F-test. 2) to compare the opinion with the factors of the efficiency affecting of the printing production by organizational factors; the number of employees, and the duration of employees operation were affected the efficiency performance at the significant difference of 0.05, by analysis and statistical inference F-testen_US
Appears in Collections:Manage-Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
128393.pdfเอกสารฉบับเต็ม1.34 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons