Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/6699
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorวราภรณ์ รุ่งเรืองกลกิจ, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.advisorสุนิสา จุ้ยม่วงศรี, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.authorมณฑล ขันกสิกรรม, 2514--
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สำนักบัณฑิตศึกษาth_TH
dc.date.accessioned2023-06-23T07:23:29Z-
dc.date.available2023-06-23T07:23:29Z-
dc.date.issued2554-
dc.identifier.urihttps://ir.stou.ac.th/handle/123456789/6699-
dc.description.abstractการวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) ศึกษาระดับความคิดเห็นของบุคลากรต่อปัจจัย ความสำเร็จในการบริหารระบบการควบคุมผู้ต้องขังในเรือนจำและทัณฑสถาน เขต 6 (2) วิเคราะห์ปัจจัย ร่วมที่อธิบายความสำเร็จในการบริหารระบบการควบคุมผู้ต้องขังในเรือนจำและทัณฑสถาน เขต 6 (3) เสนอแนะแนวทางการพัฒนาการบริหารระบบการควบคุมผู้ต้องขังในเรือนจำและ ทัณฑสถาน เขต 6 กลุ่มตัวอย่างเป็นข้าราชการ จำนวน 151 คน ที่ปฏิบัติงานฝ่ายควบคุมผู้ต้องขังจากเรือนจำ และทัณฑสถาน เขต 6 ที่มีความสำเร็จในการบริหารระบบการควบคุมผู้ต้องขัง จำนวน 13 แห่ง เครื่องมือ ที่ใช้ในการวิจัยใช้ ได้แก่ แบบสอบถาม การวิเคราะห์ข้อมูลใช้สถิติ ร้อยละ ค่าเฉลี่ย ค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน และการวิเคราะห์ปัจจัย ผลการวิจัย พบว่า (1) ความคิดเห็นของบุคลากรต่อปัจจัยความสำเร็จในการบริหารระบบการ ควบคุมผู้ต้องขังในเรือนจำและทัณฑสถาน เขต 6 อยู่ในระดับมาก โดยมีปัจจัยที่มีค่าเฉลี่ยมากที่สุด คือ ด้านระบบการควบคุมผู้ต้องขัง รองลงมาคือ ด้านผู้นำ ด้านบุคลากร และด้านการบริหาร ตามลำดับ (2) ปัจจัยร่วมที่อธิบายความสำเร็จในการบริหารระบบการควบคุมผู้ต้องขังในเรือนจำและทัณฑสถาน เขต 6 ที่สำคัญที่สุดคือ 1) ปัจจัยด้านบุคลากร รองลงมาคือ 2) ปัจจัยด้านระบบการควบคุมผู้ต้องขัง 3) ปัจจัย ผู้นำ และ 4) ปัจจัยการบริหาร อธิบายความแปรปรวนได้ร้อยละ 62.300 (3) ข้อเสนอแนะแนวทางการ พัฒนาการบริหารระบบการควบคุมผู้ต้องขังในเรือนจำและ ทัณฑสถาน เขต 6 ให้ประสบความสำเร็จมาก ยิ่งขึ้นคือ ควรเน้นการรักษาระเบียบวินัยสำหรับผู้ต้องขัง รองลงมาคือ ควรจัดกิจกรรมส่งเสริมการสร้าง จิตสำนึกให้เจ้าหน้าที่ให้มีคุณธรรม จริยธรรม รักเกียรติและศักด์ิศรีการเป็ นข้าราชการและลงโทษ เจ้าหน้าที่ที่กระทำความผิดอย่างจริงจัง มุ่งเน้นการปล่อยตัวก่อนครบกำหนดโทษ (ปล่อยตัวคุมประพฤติ) และกรมราชทัณฑ์ควรจัดอัตรากำลังเจ้าหน้าที่ให้ตรงตามกรอบการบริหารงานเรือนจำ ตามลำดับth_TH
dc.formatapplication/pdfen_US
dc.language.isothth_TH
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.relation.urihttps://www.doi.org/10.14457/STOU.the.2011.178en_US
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)en_US
dc.rights.urihttps://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/en_US
dc.sourceBorn digitalen_US
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. แขนงวิชาบริหารรัฐกิจ -- วิทยานิพนธ์th_TH
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาวิทยาการจัดการ -- วิทยานิพนธ์th_TH
dc.subjectผู้ต้องหาth_TH
dc.subjectเรือนจำth_TH
dc.subjectการบริหารงานราชทัณฑ์th_TH
dc.subjectทัณฑสถานth_TH
dc.titleปัจจัยความสำเร็จในการบริหารระบบการควบคุมผู้ต้องขังในเรือนจำและทัณฑสถาน เขต 6th_TH
dc.title.alternativeSuccess factor in prisoner control system management in Prisons and Institution in Area 6th_TH
dc.typeThesisth_TH
dc.degree.nameบริหารธุรกิจมหาบัณฑิตth_TH
dc.degree.levelปริญญาโทth_TH
dc.degree.disciplineสาขาวิชาวิทยาการจัดการth_TH
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.description.abstractalternativeThe purposes of this study were to: (1) study the level of personnel opinion in success factor in prisoner control system management in prisons and institution in area 6; (2) analyze the factor shares that explain to succeed in prisoner control system management in prisons and institution in area 6; and (3) suggest development of prisoner control system management in prisons and institution in are The sample comprised 151 government officials who work in the faction controls the prisoner in prisons and institution in area 6 by success in prisoner control system management 13 places. Questionnaire was used as an instrument and data collected were statistically analyzed using percent, age mean, standard deviation and factor analysis. The results showed that: (1) the level of the personnel to success factor in prisoner control system management in prisons and institution in area 6 were at the high level by factor was most valuable share prisoner control system, followed by leader, personnel, and administration; (2) the factor collaboration explained to succeed in prisoner control system management in prisons and institution in area 6 the most important were 1) personnel, followed by 2) control system management in prisons 3) leader, and 4) the administration explains variance factor was 62.30; and (3) development of prisoner control system management in prisons and institution in area 6 should emphasize discipline preservation for the prisoner, have campaigns which lead to virtues, morality, loving honor and fame as a civil, punish seriously the guilty officers made, focus on the release of the first due punishment (releasing the control character) and department of corrections officers should rate which meet prison management framework, respectivelyen_US
Appears in Collections:Manage-Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
128399.pdfเอกสารฉบับเต็ม1.65 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons