Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/669
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorนิตยา เพ็ญศิรินภา, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.advisorสมใจ พุทธาพิทักษ์ผล, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.authorคำพันธ์ ก้อนคำ, 2513--
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สำนักบัณฑิตศึกษาth_TH
dc.date.accessioned2022-08-17T07:48:41Z-
dc.date.available2022-08-17T07:48:41Z-
dc.date.issued2553-
dc.identifier.urihttp://ir.stou.ac.th/handle/123456789/669-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (ส.ม.(สาธารณสุขศาสตร์))--มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช, 2553th_TH
dc.description.abstractการวิจัยเชิงสำรวจนี้ มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษา (1) ระดับปัจจัยด้านบริหารและระดับคุณภาพชีวิตการทำงาน (2) ความสัมพันธ์ระหว่างปัจจัยส่วนบุคคล ปัจจัยด้านบริหารกับคุณภาพชีวิตการทำงาน และ (3) ปัญหาและข้อเสนอแนะเกี่ยวกับปัจจัยด้านบริหารและคุณภาพชีวิตการทำงานของพยาบาลวิชาชีพในโรงพยาบาลทั่วไป เขตตรวจราชการสาขารณสุขที่ 13 ประชากรที่ศึกษา คือ พยาบาลวิชาชีพที่มีประสบการณ์การทำงานตั้งแต่ 6 เดือนขึ้นไป ในโรงพยาบาลทั่วไปเขตตรวจราชการสาธารณสุขที่ 13 จำนวน 891คน กลุ่มตัวอย่างจำนวน 276 คน ได้จากการสุ่มแบบง่าย เครื่องมือที่ใช้ คือ แบบสอบถามที่มีค่าความเที่ยงเท่ากับ 0.97 วิเคราะห์ข้อมูลโดยการแจกแจงความถี่ ร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน วิเคราะห์ความสัมพันธ์ โดยการทดสอบค่าไค-สแควร์ และสัมประสิทธ์สหสัมพันธ์ของเพียร์สัน ผลการวิจัยพบว่า (1) ปัจจัยด้านบริหาร โดยรวมอยู่ในระดับปานกลาง โดยด้านกลยุทธ์อยู่ในระดับสูง ส่วนอีก 6 ด้านที่เหลืออยู่ในระดับปานกลาง คุณภาพชีวิตการทำงานของพยาบาลวิชาชีพโดยรวมอยู่ในระดับปานกลาง โดยด้านการเกี่ยวข้องสัมพันธ์กับสังคมอยู่ในระดับสูง ส่วนอีก 7 ด้านที่เหลืออยู่ในระดับปานกลาง (2) ประสบการณ์การทำงานในโรงพยาบาลทั่วไปมีความสัมพันธ์ทางบวกในระดับต่ำกับคุณภาพชีวิตการทำงาน ปัจจัยด้านบริหารโดยรวมมีความสัมพันธ์ทางบวก ในระดับสูงกับคุณภาพชีวิตการทำงาน ส่วนปัจจัยด้านบริหารรายด้านมีความสัมพันธ์ทางบวกในระดับปานกลางกับคุณภาพชีวิตการทำงาน อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .001 และ (3) ปัญหาที่ พบมากที่สุด คือ การขาดแคลนพยาบาลและการให้ค่าตอบแทนที่ไม่เหมาะสมกับภาระงานที่รับผิดชอบ ข้อเสนอแนะของพยาบาลวิชาชีพ คือ ควรเพิ่มจำนวนพยาบาลหรือพัฒนาคุณภาพชีวิตการทํางานของพยาบาลวิชาชีพ โดยการเพิ่มสวัสดิการและค่าตอบแทนให้เหมาะสมกับภาระงานที่รับผิดชอบth_TH
dc.formatapplication/pdfen_US
dc.language.isothth_TH
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)en_US
dc.rights.urihttps://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/en_US
dc.sourceBorn digitalen_US
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาวิทยาศาสตร์สุขภาพ--วิทยานิพนธ์th_TH
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. แขนงวิชาสาธารณสุขศาสตร์--วิทยานิพนธ์th_TH
dc.subjectโรงพยาบาล--การบริหารth_TH
dc.subjectคุณภาพชีวิตการทำงานth_TH
dc.titleความสัมพันธ์ระหว่างปัจจัยส่วนบุคคล ปัจจัยด้านบริหารกับคุณภาพชีวิตการทำงานของพยาบาลวิชาชีพในโรงพยาบาลทั่วไป เขตตรวจราชการสาธารณสุขที่ 13th_TH
dc.title.alternativeRelationships between personal factors, administrative factors, and quality of work life of professional nurses in general hospitals, Public Health Inspection Region 13th_TH
dc.typeThesisth_TH
dc.degree.nameสาธารณสุขศาสตรมหาบัณฑิตth_TH
dc.degree.levelปริญญาโทth_TH
dc.degree.disciplineสาขาวิชาวิทยาศาสตร์สุขภาพth_TH
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.description.abstractalternativeThe objectives of this survey research were to: (1) study levels of administrative factors and quality of work life; (2) study relationships between personal factors, administrative factors, and quality of work life; and (3) identify problems of and make suggestions for improving administrative factors and quality of work life of professional nurses in general hospitals in Public Health Inspection Region 13. The study population was 891 professional nurses, who had had at least six months of working experience, in general hospitals in Public Health Inspection Region 13; among them a sample of 276 professional nurses was selected using the simple random sampling method. The instrument for data collection was a questionnaire with the reliability of 0.97. Statistics used for data analysis were frequency, percentage, mean, standard deviation, chi-square test and Pearson product-moment correlation coefficient. The results showed that: (l)The overall and six aspects of administrative factors were at moderate levels, except that the strategy aspect was at a high level. The overall and each aspect of quality of work life of professional nurses were at moderate levels, except that the social relevance of work life was at a high level. (2) A low level of positive association was found between their experiences in general hospitals and quality of work life; the overall administrative factors were positively related to quality of work life at a high level; and each aspect of administrative factor showed a moderate level of positive relationship with quality of work life, all significant at 0.001 level; and (3) The problems most commonly encountered were inadequacy of nurses and unfair compensation for their assignments. Thus, it is recommended that the number of nurses should be increased or their quality of work life should be improved by raising their welfare and compensation so that they are commensurate with the burden of worken_US
Appears in Collections:Health-Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
122027.pdfเอกสารฉบับเต็ม17.86 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons