Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/6703
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorไตรรัตน์ โภคพลากรณ์th_TH
dc.contributor.authorปัญจพร แต้มแก้ว, 2524-th_TH
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สำนักบัณฑิตศึกษาth_TH
dc.date.accessioned2023-06-23T08:17:12Z-
dc.date.available2023-06-23T08:17:12Z-
dc.date.issued2554-
dc.identifier.urihttps://ir.stou.ac.th/handle/123456789/6703en_US
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (บธ.ม. (บริหารธุรกิจ))--มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช, 2554th_TH
dc.description.abstractการวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษา (1) ระดับแรงจูงในการปฏิบัติงานของบุคลากรสำนักงานพัฒนาชุมชนอำเภอ สังกัดเขตตรวจราชการที่ 4 (2) ปัจจัยที่มีผลต่อแรงจูงใจในการปฏิบัติงานของบุคลากรสำนักงานพัฒนาชุมชนอำเภอ สังกัดเขตตรวจราชการที่ 4 (3) ปัญหาอุปสรรคและแนวทางในการเสริมสร้างแรงจูงใจในการปฏิบัติงานของบุคลากรสำนักงานพัฒนา ชุมชนอำเภอ สังกัดเขตตรวจราชการที่ 4 การศึกษานี้เป็นการวิจัยเชิงสำรวจ เป็นการศึกษาประชากรทั้งหมดซึ่ได้แก่ เจ้าหน้าที่พัฒนาชุมชนในสำนักงานพัฒนาชุมชนอำเภอ สังกัดเขตตรวจราชการที่ 4 จำนวน 288 คนเครื่องมือที่ใช้ คือ แบบสอบถาม สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ ค่าความถี่ ค่าร้อยละค่าเฉลี่ย ค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน และการวิเคราะห์ถดถอยพหุคูณแบบขั้นตอน ผลการวิจัยพบว่า (1) ในภาพรวมบุคลากรมีแรงจูงในการปฏิบัติงานในระดับมากโดยด้านการมีทิศทาง มีค่าเฉลี่ยสูงสุด และด้านการมีเป้าหมาย มีค่าเฉลี่ยต่ำสุด (2) ปัจจัยที่มีผลต่อแรงจูงใจในการปฏิบัติงานของบุคลากรสำนักงานพัฒนาชุมชนอำเภอ สังกัดเขตตรวจราชการที่ 4 มากที่สุดได้แก่สภาพการทำงาน รองลงมาได้แก่ ความมั่นคงในงาน นโยบายและการบริหาร(3) ปัญหาสำคัญในการปฏิบัติงานของบุคลากร ได้แก่ ปริมาณงานมากเกินไปทั้งการจัดทำระบบรายงานข้อมูลทั้งการออกไปปฏิบัติงานในพื้นที่และงานอื่นๆ ที่ได้รับมอบหมาย งานที่ปฏิบัติไม่ตรงกับความรู้ความสามารถและความชำนาญในการปฏิบัติงาน และเงินเดือนและเบี้ยเลี้ยงไม่เพียงพอกับมาตรฐานการครองชีพ ข้อเสนอแนะสำคัญได้แก่ หน่วยงานควรพิจารณามอบหมายงานให้เหมาะสม จัดสภาพแวดล้อมที่ดีเพื่อสร้างบรรยากาศในการทำงาน รวมทั้งควรปรับระบบเงินเดือนให้สอดคล้องกับมาตรฐานการครองชีพและและเพิ่มสวัสดิการต่างๆ ให้เหมาะสมและตรงตามความต้องการของบุคลากรth_TH
dc.formatapplication/pdfen_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.relation.urihttps://www.doi.org/10.14457/STOU.the.2011.70en_US
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)en_US
dc.rights.urihttps://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/en_US
dc.sourceBorn digitalen_US
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. แขนงวิชาบริหารรัฐกิจ--วิทยานิพนธ์th_TH
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาวิทยาการจัดการ--วิทยานิพนธ์th_TH
dc.subjectการจูงใจในการทำงานth_TH
dc.titleปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อแรงจูงใจในการปฏิบัติงานของบุคลากรสำนักงานพัฒนาชุมชนอำเภอ สังกัดเขตตรวจราชการที่ 4th_TH
dc.title.alternativeFactors affecting motivation in operational performance of personnel in District Community Development Offices Inspection Area 4th_TH
dc.typeThesisth_TH
dc.identifier.DOI10.14457/STOU.the.2011.70-
dc.identifier.urlhttps://www.doi.org/10.14457/STOU.the.2011.70en_US
dc.degree.nameบริหารธุรกิจมหาบัณฑิตth_TH
dc.degree.levelปริญญาโทth_TH
dc.degree.disciplineสาขาวิชาวิทยาการจัดการth_TH
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.description.abstractalternativeThis research aimed to study (1)level of motivation in operational performance of personnel in District Community Development Offices Inspection Area 4 (2) factors affecting motivation in operational performance of personnel in District Community Development Offices Inspection Area 4 (3) problems and recommendation to enhance motivation in operational performance of personnel in District Community Development Offices Inspection Area 4. This study was a survey research, studied whole population consisted of 288 personnel of District Community Development Offices Inspection Area 4. Instrument used was questionnaire. Statistical tools employed were frequency, percentage, mean, standard deviation and stepwise multiple regression analysis. The research findings were (1) in general, motivation in operational performance of personnel in District Community Development Offices Inspection Area 4 was in high level, with the highest on direction aspect and lowest on goal (2) factor most affecting motivation in operational performance was work condition, next were job security, policy and management consecutively (3) major problems including work load due to varieties of jobs assigned to each personnel, also, the job assigned did not suit officials’ skills and knowledge, moreover, salary and allowances were not sufficient and below standard of living, major recommendations were job should be assigned appropriately with consideration of personnel expertise, work environment should be improved to enhance work atmosphere, more importantly, there should be an improvement in salary system to meet with standard of living, together with an appropriate increase in allowances so to make it more responding to the needs of personnel.en_US
dc.contributor.coadvisorปภาวดี มนตรีวัตth_TH
Appears in Collections:Manage-Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
128817.pdfเอกสารฉบับเต็ม1.4 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons