Please use this identifier to cite or link to this item:
https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/6710
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.advisor | จินตนา ธนวิบูลย์ชัย | th_TH |
dc.contributor.author | วัฒน์ชัย จรูญวรรธนะ, 2513- | th_TH |
dc.contributor.other | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สำนักบัณฑิตศึกษา | th_TH |
dc.date.accessioned | 2023-06-26T02:48:28Z | - |
dc.date.available | 2023-06-26T02:48:28Z | - |
dc.date.issued | 2554 | - |
dc.identifier.uri | https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/6710 | en_US |
dc.description | วิทยานิพนธ์ (บธ.ม. (บริหารธุรกิจ))--มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช, 2554 | th_TH |
dc.description.abstract | การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษา (1) ระดับการดำเนินการพัฒนาคุณภาพอย่างต่อเนื่องใน โรงพยาบาลสังกัดสำนักงานปลัดกระทรวงสาธารณสุข (2) ระดับปัจจัยการบริหารจัดการองค์กรในโรงพยาบาล (3) ปัจจัย ที่มีผลต่อการดำเนินการพัฒนาคุณภาพอย่างต่อเนื่อง โรงพยาบาลสังกัดสำนักงานปลัดกระทรวงสาธารณสุข ประชากรที่ใช้ในการวิจัยครั้งนี้ คือ ผู้รับผิดชอบงานพัฒนาคุณภาพในโรงพยาบาลสังกัดสำนักงาน ปลัดกระทรวงสาธารณสุข รวมทั้งสิ้น 829 คน โดยมีขนาดของกลุ่มตัวอย่าง เท่ากับ 292 คน ใช้วิธีการสุ่มแบบชั้นภูมิ เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย ได้แก่ แบบสอบถามชนิดให้เลือกตอบ และแบบสอบถามปลายเปิด สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ ข้อมูล ได้แก่ ค่าความถี่ ร้อยละ ค่าเฉลี่ย ค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน และการวิเคราะห์การถดถอยพหุคูณ ผลการศึกษาวิจัย พบว่า (1) การดำเนินการพัฒนาคุณภาพอย่างต่อเนื่องของโรงพยาบาลศูนย์อยู่ใน ระดับมาก ในขณะที่โรงพยาบาลอื่น ดำเนินการอยู่ในระดับปานกลาง (2) ปัจจัยการบริหารจัดการองค์กรของ โรงพยาบาลในภาพรวมและทุกประเภท ดำเนินการอยู่ในระดับปานกลาง (3) ปัจจัยที่มีผลต่อการดำเนินการพัฒนา คุณภาพอย่างต่อเนื่องในภาพรวม ได้แก่ ปัจจัยการบริหารจัดการองค์กร ด้านการวางแผน ด้านการจัดองค์กร และ ด้านการควบคุม โดยสามารถร่วมกันพยากรณ์การดำเนินการพัฒนาคุณภาพอย่างต่อเนื่องได้ ร้อยละ 41.6 ที่มีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 เมื่อพิจารณาแยกประเภทโรงพยาบาล พบว่า ปัจจัยที่มีผลต่อการดำเนินการพัฒนาคุณภาพอย่าง ต่อเนื่องในโรงพยาบาลศูนย์และทั่วไป ได้แก่ ปัจจัย การบริหารจัดการองค์กร ด้านการวางแผน และ ด้านการนำ องค์กร โดยสามารถร่วมกันพยากรณ์การดำเนินการพัฒนาคุณภาพอย่างต่อเนื่องได้ ร้อยละ 46.8 ที่มีนัยสำคัยทางสถิติ ที่ระดับ .05 และปัจจัยที่มีผลต่อการดำเนินการพัฒนาคุณภาพอย่างต่อเนื่องในโรงพยาบาลชุมชน ได้แก่ ปัจจัย การบริหารจัดการองค์กร ด้านการจัดองค์กร และด้านการควบคุม โดยสามารถร่วมกันพยากรณ์การดำเนินการพัฒนา คุณภาพอย่างต่อเนื่องได้ ร้อยละ 41.0 ที่มีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 ข้อเสนอแนะเพื่อให้เกิดการดำเนินการพัฒนาคุณภาพอย่างต่อเนื่อง ได้แก่ 1) ควรเปิดโอกาสให้ผู้ป่วยเข้ามามีส่วนร่วมในกระบวนการพัฒนาคุณภาพมากขึ้น 2)ควรมีการสำรวจความต้องการ โดยเฉพาะ ผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย 3) ควรมีการทบทวนผลการปฏิบัติงาน โดยเฉพาะร่วมกับสายงาน/วิชาชีพ 4) ควรส่งเสริมให้เกิดการทบทวนผลการปฎิบัติงานโดยใช้ข้อมูลเชิงประจักษ์และนำผลการทบทวนเหล่านั้นมาใช้ในการพัฒนาและปรับปรุงคุณภาพ | th_TH |
dc.format | application/pdf | en_US |
dc.language.iso | th | en_US |
dc.publisher | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช | th_TH |
dc.relation.uri | https://www.doi.org/10.14457/STOU.the.2011.263 | en_US |
dc.rights | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช | th_TH |
dc.rights | Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0) | en_US |
dc.rights.uri | https://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/ | en_US |
dc.source | Born digital | en_US |
dc.subject | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. แขนงวิชาบริหารรัฐกิจ--วิทยานิพนธ์ | th_TH |
dc.subject | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาวิทยาการจัดการ--วิทยานิพนธ์ | th_TH |
dc.subject | โรงพยาบาล--การบริหาร | th_TH |
dc.subject | โรงพยาบาล--การรับรองคุณภาพ | th_TH |
dc.title | ปัจจัยที่มีผลต่อการดำเนินการพัฒนาคุณภาพอย่างต่อเนื่องในโรงพยาบาลสังกัดสำนักงานปลัดกระทรวงสาธารณสุข | th_TH |
dc.title.alternative | Factors affecting continuous quality improvement implementation in public hospitals under office of permanent secretary of Ministry of Public Health | th_TH |
dc.type | Thesis | th_TH |
dc.identifier.DOI | 10.14457/STOU.the.2011.263 | - |
dc.identifier.url | https://www.doi.org/10.14457/STOU.the.2011.263 | en_US |
dc.degree.name | บริหารธุรกิจมหาบัณฑิต | th_TH |
dc.degree.level | ปริญญาโท | th_TH |
dc.degree.discipline | สาขาวิชาวิทยาการจัดการ | th_TH |
dc.degree.grantor | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช | th_TH |
dc.description.abstractalternative | The objectives of this study were to (1) determine the level of continuous quality improvement implementation in public hospitals and (2) determine the level of organization management in public hospitals (3) determine factors affecting continuous quality improvement implementation in public hospitals under Office of Permanent Secretary of Ministry of Public Health, Ministry of Public Health. The study population consisted of 829 personnel of the public hospitals who are responsible for hospital quality management; 292 of which were study sample and obtained by stratified sampling. The tools used were checklist and openended questionnaires. Statistical tools employed were frequency, percentage, means, standard deviation and results of multiple regression analysis. The results showed the following. (1) Continuous quality improvement implementation of regional hospitals is at the high level, while other types of hospitals are at moderate level. (2) Level of organization management for overall and each type of hospitals are at the high level. (3) The organization management process of planning, organizing and control predicted the level of continuous quality improvement implementation for all public hospitals with predictability of 43.3% at 5 percent level of significance. According to hospital type, the organization management process of planning and leading predicted the level of continuous quality improvement implementation for all general and regional hospitals with predictability of 46.8% at 5 percent level of significance and the organization management process of organizing, and controlling predicted the level of continuous quality improvement implementation for community hospitals with predictability of 41.0% at 5 percent level of significance. Recommendations from this study for continuous quality improvement implementation were the following 1) hospital managers should promote patient participation in quality improvement process; 2) survey for patient need and requirement especially stakeholder; 3) performance review with relevant professionals 4) performance review by evidence-based analysis for quality improvement process. | en_US |
dc.contributor.coadvisor | วราภรณ์ รุ่งเรืองกลกิจ | th_TH |
Appears in Collections: | Manage-Theses |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
128961.pdf | เอกสารฉบับเต็ม | 3.41 MB | Adobe PDF | View/Open |
This item is licensed under a Creative Commons License