Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/671
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorเยาวภา ปิ่นทุพันธ์, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.advisorขวัญชัย วิศิษฐานนท์, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.authorจิตรกร สุ่มมาตย์, 2513--
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สำนักบัณฑิตศึกษาth_TH
dc.date.accessioned2022-08-17T08:04:17Z-
dc.date.available2022-08-17T08:04:17Z-
dc.date.issued2550-
dc.identifier.urihttp://ir.stou.ac.th/handle/123456789/671-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (ส.ม.(สาธารณสุขศาสตร์))--มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช, 2550th_TH
dc.description.abstractการวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษา (1) จำนวนครั้งในการวัดงานบริการจ่ายยาผู้ป่วยนอก (2) ปริมาณการปฏิบัติงาน (3) สัดส่วนการปฏิบัติงานต่อวัน และ (4) สัดส่วนการทำกิจกรรม ณ ช่วงเวลาต่าง ๆ ในงานบริการจ่ายยาผู้ป่วยนอก โรงพยาบาลของรัฐในจังหวัดกาฬสินธุ์ การวิจัยนี้เป็นการวิจัยเชิงพรรณนาแบบไปข้างหน้า โดยทำการศึกษาเภสัชกร เจ้าพนักงานเภสัช กรรม และบุคลากรผู้ช่วยอี่นๆ ทุกคนที่ปฏิบัติงานให้บริการจ่ายยาผู้ป่วยนอกของโรงพยาบาลของรัฐในจังหวัดกาฬสินธุ์ เครื่องมือการวิจัยเป็นแบบบันทึกการวัดงาน เก็บข้อมูลดำเนินการช่วงเดือนธันวาคม พ.ศ. 2550 ถึงมีนาคม พ.ศ. 2551 ประมวลผลและวิเคราะห์ข้อมูลโดยค่าร้อยละและสัดส่วน และการทดสอบไค-สแควร์ ผลการวิจัยพบว่า (1) จำนวนครั้งในการวัดงานบริการจ่ายยาผู้ป่วยนอกในแต่ละโรงพยาบาลเท่ากับ 384 ครั้ง (2) ปริมาณการปฏิบัติงานในกิจกรรมต่างๆ ต่อหนึ่งวันเวลาทำการในงานบริการจ่ายยาผู้ป่วย นอกของทุกตำแหน่งงานเทียบกับจำนวนครั้งของการวัดงานทั้งหมด ได้แก่ รับใบสั่งยาและติดบัตรคิว 2 ครั้ง (ร้อยละ 2.43) พิมพ์ใบสั่งยาและสติ๊กเกอร์ยา 4 ครั้ง (ร้อยละ 3.95) จัดการฉลากยาให้ตรงกับใบสั่งยา 1 ครั้ง (ร้อยละ 1.30) จัดยาและติดฉลากยา 19 ครั้ง (ร้อยละ19.66) ตรวจสอบความถูกต้องของยาที่จัด 7 ครั้ง (ร้อยละ 6.93) เรียกชื่อ ผู้ป่วยและให้คำแนะนำ 6 ครั้ง (ร้อยละ 6.70) ให้คำแนะนำยาแก่แพทย์/ผู้ป่วย 1 ครั้ง (ร้อยละ 1.09) เป็นที่ปรึกษาให้แก่เจ้าหน้าที่ห้องยา 0 ครั้ง (ร้อยละ 0) แบ่งบรรจุ/ตรวจสอบ/เบิกและจัดเรียงยา 6 ครั้ง (ร้อยละ 5.78) งานวิชาการ/บริหาร/คุณภาพ 18 ครั้ง (ร้อยละ 18.89) พัก 12 ครั้ง (ร้อยละ 12.21) ว่างงานและภารกิจส่วนตัว 4 ครั้ง (ร้อยละ 4.13) และการไม่อยู่ในสถานปฏิบัติงาน 16 ครั้ง (ร้อยละ 16.40) (3) สัดส่วนการปฏิบัติงานในกิจกรรมบริการจ่ายยาผู้ป่วยนอก โดยตรงกิจกรรมสนับสนุนการจ่ายยาผู้ป่วยนอก และกิจกรรมที่ไม่ก่อให้เกิดผลงานของทุกตำแหน่งงานในทุกโรงพยาบาล เป็นร้อยละ 43.24, 25.74 และ 31.01 ตามลำดับ และ (4) สัดส่วนการทำกิจกรรมจ่ายยาผู้ป่วยนอกโดยตรง สูงสุดในช่วงเวลา 10.00-12.00 น. กิจกรรมสนับสนุนการจ่ายยาผู้ป่วยนอกสูงสุดในช่วงเวลา 14.00-16.30 น. และกิจกรรมไม่ก่อให้เกิดผลงานสูงสุด ในช่วงเวลา 12.00-14.00 น.ร้อยละ .60.98, 38.22 และ 56.56 ตามลำดับ ข้อสรุปของงานวิจัยบอกถึงความเหมาะสมของปริมาณการปฏิบัติงานในกิจกรรมที่สัมพันธ์กับตำแหน่งงาน และความจำเป็นต้องทำกิจกรรมสนับสนุนการจ่ายยาผู้ป่วยนอกให้มากขึ้นในช่วงบ่ายเพื่อทดแทนกิจกรรมที่ไม่ก่อให้เกิดผลงานth_TH
dc.formatapplication/pdfen_US
dc.language.isothth_TH
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)en_US
dc.rights.urihttps://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/en_US
dc.sourceBorn digitalen_US
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาวิทยาศาสตร์สุขภาพ--วิทยานิพนธ์th_TH
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. แขนงวิชาสาธารณสุขศาสตร์--วิทยานิพนธ์th_TH
dc.titleการวัดงานบริการจ่ายยาผู้ป่วยนอกในโรงพยาบาลของรัฐในจังหวัดกาฬสินธุ์th_TH
dc.title.alternativeWork measurement in the outpatient dispensing service at government hospitals Kalasin Provinceth_TH
dc.typeThesisth_TH
dc.degree.nameสาธารณสุขศาสตรมหาบัณฑิตth_TH
dc.degree.levelปริญญาโทth_TH
dc.degree.disciplineสาขาวิชาวิทยาศาสตร์สุขภาพth_TH
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.description.abstractalternativeThis research objectives were to study ะ (1) numbers of work measurement in the out-patient dispensing service; (2) a quantity of work ; (3) a proportion of work per day ; and (4) a proportion of activities at various times in the out-patient dispensing service at government hospitals in Kalasin Province. This descriptive prospective study was conducted with all pharmacists, pharmacy technicians and other assistants who worked in the out-patient dispensing service at government hospitals in Kalasin Province. The research instrument used in the study was a work measurement record form. The data were collected from December 2007 to March 2008. Data were analyzed as percentage, ratio, and Chi-square test. The results of this research showed that: (1) the numbers of work measurement in the out-patient dispensing service at each government hospital were 384 times; (2) the quantity of work in various activities per day in the out-patient dispensing service of all pharmacy personnel compared with numbers of work measurement of total work measurement including receiving a prescription and queue issuing 2 times (2.43%), printing a prescription and issuing a drug sticker 4 times (3.95%), matching drug in accordance with a prescription 1 times (130%), preparing drugs and labeling stickers 19 times (19.66%), checking drugs and a prescription 7 times (6.93%), dispensing drugs and giving suggestion 6 times (6.70%), giving drug advice to doctors/patients 1 times (1.09%), giving consultation to pharmacy personnel 0 time (0%), packaging/checking/re-arranging drugs 6 times (5.78%), providing technical/administration/quality activities 18 times (18.89%), taking rest 12 times (12.21%), being no work and doing private activity 4 times (4.13%) and leaving from their workplace 16 times (16.40%); (3) proportion of work per day of the total work that pharmacy personnel has spent directly to dispensing activity, supporting dispensing activity, and non-productive activity of all work positions in all sample hospitals was 43.24%, 25.74% and 31.01%, respectively; and (4) the highest time proportion of the direct outpatient dispensing activity, supporting dispensing activity, and non-productive activity per day was at 10.00-12.00 (60.98%), 14.00-16 30(38.22%) and 12.00-14.00(56.56%), respectively. The research summary indicated work quantity appropriateness for all activity associated with work position and the requirement for more outpatient dispensing service supporting activity in the afternoon time in order to compensate non-productive activityen_US
Appears in Collections:Health-Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
108830.pdfเอกสารฉบับเต็ม7.95 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons