Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/6722
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorเสน่ห์ จุ้ยโต, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.advisorชินรัตน์ สมสืบ, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.authorนภารัตน์ กิตติรัตนมงคล, 2516--
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สำนักบัณฑิตศึกษาth_TH
dc.date.accessioned2023-06-26T04:44:56Z-
dc.date.available2023-06-26T04:44:56Z-
dc.date.issued2554-
dc.identifier.urihttps://ir.stou.ac.th/handle/123456789/6722-
dc.description.abstractการวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) จัดทำสมรรถนะบุคลากรของงานเลขานุการกิจสาขาวิชา มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช (2) จัดทาแผนงานพัฒนาสมรรถนะบุคลากรของงานเลขานุการกิจสาขาวิชาในมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช การวิจัยครั้งนี้เป็นการวิจัยเชิงคุณภาพผสมกับการวิจัยเชิงปริมาณ เครื่องมือที่ใช้คือ แบบสัมภาษณ์และแบบสอบถาม ประชากรวิจัยได้แก่ ประธานกรรมการประจำสาขาวิชาและอดีตประธานกรรมการประจำสาขาวิชา คณาจารย์ หัวหน้างานเลขานุการกิจสาขาวิชา และบุคลากรงานเลขานุการกิจสาขาวิชา กลุ่มตัวอย่างใช้การเลือกแบบเจาะจง ประธานกรรมการประจำสาขาวิชาและอดีตประธานกรรมการประจำสาขาวิชา จำนวน 5 คน ผู้อำนวยการสานักที่เกี่ยวข้อง จำนวน 2 คน หัวหน้างานเลขานุการกิจสาขาวิชา จำนวน 6 คน และการเลือกกลุ่มตัวอย่างแบบแบ่งชั้นจากคณาจารย์ จำนวน 120 คน และบุคลากรงานเลขานุการกิจสาขาวิชา จำนวน 132 คน การวิเคราะห์ข้อมูลใช้การวิเคราะห์เนื้อหา และวิเคราะห์ข้อมูลโดยสถิติ ได้แก่ ค่าเฉลี่ย ค่าร้อยละ และค่าส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน ผลการวิจัยพบว่า (1) สมรรถนะบุคลากรของงานเลขานุการกิจสาขาวิชา มหาวิทยาลัย สุโขทัยธรรมาธิราช มีอยู่ 5 สมรรถนะ คือ ความรอบรู้ในกฎระเบียบ การค้นคว้าหาข้อมูลในงาน ศิลปะในการสื่อสารและการประสานงานที่ดี ความคิดริเริ่มสร้างสรรค์ และความถูกต้องของงาน (2) แผนพัฒนาสมรรถนะบุคลากรของงานเลขานุการกิจสาขาวิชา โดยมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช มี 3 ประการ ได้แก่ 1) การจัดหลักสูตรฝึกอบรม ด้านสมรรถนะ จำนวน 5 หลักสูตร 2) แผนการจัดสรรทุนการศึกษาในการพัฒนาด้านความรู้ให้แก่บุคลากรงานเลขานุการกิจสาขาวิชา ปีละ 2 ทุน 3) แผนการจัดทาระบบการประเมินสมรรถนะอย่างเป็นรูปธรรม สำหรับสาขาวิชาต้องจัดให้มีการสัมมนาบุคลากรภายในสาขาวิชาร่วมกันเป็นประจำทุกปี และจัดทำแผนเพิ่มพูนความรู้และพัฒนาบุคลากรงานเลขานุการกิจของสาขาวิชาth_TH
dc.formatapplication/pdfen_US
dc.language.isothth_TH
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.relation.urihttps://www.doi.org/10.14457/STOU.the.2011.128en_US
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)en_US
dc.rights.urihttps://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/en_US
dc.sourceBorn digitalen_US
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. แขนงวิชาบริหารรัฐกิจ -- วิทยานิพนธ์th_TH
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาวิทยาการจัดการ -- วิทยานิพนธ์th_TH
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช -- บุคลากรth_TH
dc.subjectสมรรถนะth_TH
dc.titleการพัฒนาสมรรถนะของบุคลากรงานเลขานุการกิจสาขาวิชามหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.title.alternativeCompetency development of the secretarial departments in programs of studies of Sukhothai Thammathirat Open Universityth_TH
dc.typeThesisth_TH
dc.degree.nameบริหารธุรกิจมหาบัณฑิตth_TH
dc.degree.levelปริญญาโทth_TH
dc.degree.disciplineสาขาวิชาวิทยาการจัดการth_TH
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.description.abstractalternativeThe objectives of this research were to (1) set work competencies for the personnel of the secretarial departments in programs of studies at Sukhothai Thammathirat Open University; and (2) make a plan to develop the competencies of personnel of the secretarial departments. This was both a qualitative and quantitative study. The research instruments were interview forms and a questionnaire. The sample population, chosen by the teaching staff and the personnel of the secretarial departments of every academic school at Sukhothai Thammathirat Open University through purposive sampling, consisted of the chairmen of the committees of each academic school, the heads of the secretarial department of each school, teaching staff, and personnel of the secretarial departments. Data were analyzed using descriptive analysis and the statistical methods of mean, percentage and standard deviation. The results showed that: (1) The five most essential work competencies (rated as highest or high) are knowledge of the rules, accuracy, communication and coordination skills, creativity, and work-related research skills. (2) The university’s plan to develop work competency are 3 plans that 1) to regularly hold training for competency development in 5 programs; 2) provide scholarships for knowledge development; and 3) implement a tangible system for competency evaluation. Each of the 12 academic schools should organize seminars for the teaching staff and secretarial staff to attend together, and make plan to support knowledge acquisition by the secretarial staff. The secretarial staff should inform the schools about their needs and desires for competency development. They should attend training as assigned by the universityen_US
Appears in Collections:Manage-Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
130192.pdfเอกสารฉบับเต็ม2.44 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons