Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/6724
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorชนินทร์ ชุณหพันธรักษ์, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.advisorอมรรัตน์ ภิญโญอนันตพงษ์, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.authorลักษณชัย ธนะวังน้อย, 2524--
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สำนักบัณฑิตศึกษาth_TH
dc.date.accessioned2023-06-26T06:14:31Z-
dc.date.available2023-06-26T06:14:31Z-
dc.date.issued2554-
dc.identifier.urihttps://ir.stou.ac.th/handle/123456789/6724-
dc.description.abstractการวิจัยเรื่องนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) ศึกษาความคิดเห็นต่อการจัดการทรัพยากรมนุษย์ของเครือเบทาโกร (2) ศึกษาความคิดเห็นต่อประสิทธิภาพการปฏิบัติงานของพนักงานเครือเบทาโกร (3) ศึกษาและเปรียบเทียบความคิดเห็นของพนักงานเครือเบทาโกรที่มีต่อประสิทธิภาพการปฏิบัติงาน จำแนกตามปัจจัยส่วนบุคคล (4) ศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างความคิดเห็นต่อการจัดการทรัพยากรมนุษย์กับประสิทธิภาพการปฏิบัติงานของพนักงานเครือเบทาโกร ประชากรที่ใช้ในการวิจัยครั้งนี้ ได้แก่ พนักงานเครือเบทาโกร จำนวน 4,078 คน คำนวณกลุ่มตัวอย่างโดยใช้สูตรของทาโร ยามาเน่ ได้จำนวน 365 คน เครื่องมือที่ใช้ในการรวบรวมข้อมูลได้แก่ แบบสอบถาม สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน การทดสอบค่าที การทดสอบค่าเอฟ และการทดสอบค่าสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์ของเพียร์สัน ผลการวิจัยพบว่า (1) ความคิดเห็นด้านการจัดการทรัพยากรมนุษย์ใน 7 ด้าน คือการวางแผน การสรรหาและคัดเลือก การฝึกอบรมและการพัฒนา ผลตอบแทนและผลประโยชน์อื่น ความปลอดภัยและสุขภาพ พนักงานและแรงงานสัมพันธ์ และการประเมินผลการปฏิบัติงาน ทั้งโดยรวมและรายด้านอยู่ในระดับมากทุกด้าน (2) ความคิดเห็นเกี่ยวกับประสิทธิภาพการปฏิบัติงานของพนักงานใน 4 ด้าน คือ ปริมาณงาน คุณภาพงาน เวลาในการทำงาน และค่าใช้จ่าย ทั้งโดยรวมและรายด้านอยู่ในระดับมากทุกด้าน (3) ผลการวิเคราะห์ความแตกต่างระหว่างปัจจัยส่วนบุคคลกับประสิทธิภาพการปฏิบัติงาน พบว่า อายุ ประสบการณ์และรายได้ต่อเดือนที่ต่างกันมีผลต่อประสิทธิภาพการปฏิบัติงานแตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 (4) ผลการวิเคราะห์ความสัมพันธ์ระหว่างการจัดการทรัพยากรมนุษย์กับประสิทธิภาพการปฏิบัติงาน พบว่าทั้งโดยรวมและรายด้านมีความสัมพันธ์ในทิศทางเดียวกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 ในระดับต่ำทุกด้าน (5) องค์การควรปรับปรุงนโยบายการจัดการทรัพยากรมนุษย์เพื่อประสิทธิภาพการปฏิบัติงานของพนักงานที่ดีขึ้นth_TH
dc.formatapplication/pdfen_US
dc.language.isothth_TH
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.relation.urihttps://www.doi.org/10.14457/STOU.the.2011.253en_US
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)en_US
dc.rights.urihttps://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/en_US
dc.sourceBorn digitalen_US
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาวิทยาการจัดการ -- วิทยานิพนธ์th_TH
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. แขนงวิชาบริหารธุรกิจ -- วิทยานิพนธ์th_TH
dc.subjectการบริหารงานบุคคลth_TH
dc.subjectการทำงานth_TH
dc.titleความสัมพันธ์ระหว่างการจัดการทรัพยากรมนุษย์กับประสิทธิภาพการปฏิบัติงานของพนักงานเครือเบทาโกรth_TH
dc.title.alternativeRelationship between human resource management and performance efficiency of Betagro Group Employeesth_TH
dc.typeThesisth_TH
dc.degree.nameบริหารธุรกิจมหาบัณฑิตth_TH
dc.degree.levelปริญญาโทth_TH
dc.degree.disciplineสาขาวิชาวิทยาการจัดการth_TH
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.description.abstractalternativeThe objectives of this research were: (1) to reveal the human resource management of Betagro Group; (2) to study the performance efficiency of Betagro Group employees; and (3) to study and compare the opinions towards the human resource management and the performance efficiency of Betagro Group employees in terms of personal factors. (4) to study the relationships between the human resource management and the performance efficiency of Betagro Group employees. The population used in this study consisted of 4,078 Betagro Group employees; and the sample size was 365 employees calculated by Yamane’s formula. The instrument used in collecting data was questionnaire. The statistical procedures used in analyzing data were percentage, mean, standard deviation, t- test and F-test, and Pearson’s product-moment correlation. The findings of this research could be concluded as the following. (1) The opinions towards human resource management of Betagro Group in the following seven aspects, viz., human resource planning, recruitment and selection, training and development, compensation and benefits, safety and health, employee and labor relations, and performance appraisal, on the whole and in every aspect were of a more level. (2) The opinions towards performance efficiency of Betagro Group employees in the following four aspects, viz., quantity of work, quality of work, working time, and cost of work, on the whole and in every aspect, were of a more level. (3) The results of testing for personal factors affecting the performance efficiency indicated that personal factors, viz., age, working experience and monthly income were statistically affecting to performance efficiency at .05 level of significance. (4) The level of relations between human resource management and performance efficiency were statistically positive related at .05 level of significance in every aspect. (5) Organization should have to improve the policies of human resource management for the better of performance efficiency of employeesen_US
Appears in Collections:Manage-Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
130193.pdfเอกสารฉบับเต็ม2.37 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons