Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/672
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorมุกดา หนุ่ยศรี, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.advisorวรรณภา ประไพพานิช, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.authorขวัญใจ ภูมิเขต, 2513--
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สำนักบัณฑิตศึกษาth_TH
dc.date.accessioned2022-08-17T08:07:19Z-
dc.date.available2022-08-17T08:07:19Z-
dc.date.issued2557-
dc.identifier.urihttp://ir.stou.ac.th/handle/123456789/672-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (พย.ม. (การบริหารการพยาบาล))--มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช, 2557th_TH
dc.description.abstractการวิจัยครั้งนี้เป็นการวิจัยเชิงคุณภาพ มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาประสบการณ์สู่ความสำเร็จในการบริหารงานของหัวหน้าหน่วยงานทางการพยาบาล โรงพยาบาลระดับตติยภูมิ สังกัดกระทรวงสาธารณสุขใน จังหวัดนนทบุรี ผู้ให้ข้อมูลคือ หัวหน้าหน่วยงานทางการพยาบาลของโรงพยาบาลระดับตติยภูมิ สังกัดกระทรวงสาธารณสุขในจังหวัดนนทบุรี ที่ได้รับรางวัลพยาบาลดีเด่นระดับบริหาร ตั้งแต่ปี พ.ศ. 2552 –2557 จำนวน 15 คนคัดเลือกผู้ให้ข้อมูลหลักโดยเลือกตามกลุ่มแบบเจาะจง เก็บรวบรวมข้อมูลด้วยวิธีการสัมภาษณ์แบบเชิงลึก รายบุคคลและบันทึกการสัมภาษณ์ด้วยเทปเสียง นำข้อมูลที่ได้มาถอดความแบบคำต่อคำ วิเคราะห์ข้อมูลด้วยการวิเคราะห์ข้อมูลตามแบบโคไลซี่ ผลการวิจัยพบว่า หัวหน้าหน่วยงานทางการพยาบาลที่ได้รับรางวัลพยาบาลดีเด่นระดับบริหาร มีประสบการณ์สู่ความสําเร็จในการบริหารงานด้านต่างๆ ประกอบด้วย 1) การบริหารงานบุคคล โดยการพัฒนา บุคลากร เช่น การฝึกอบรม การให้ความรู้ในขณะปฏิบัติงานและการนิเทศ การสร้างขวัญกำลังใจ เช่น การให้คำชมเชย การพูดให้กำลังใจ การให้ค่าตอบแทน การจัดกิจกรรมในโอกาสต่างๆ การให้สวัสดิการต่างๆ และการเข้าไปช่วยเหลือในด้านต่างๆ การสร้างการทำงานเป็นทีม การยืดหยุ่นในการทํางาน การใช้กฎระเบียบในการควบคุม และการตักเตือน และความยุติธรรมและความโปร่งใส 2) การบริหารงบประมาณ 3) การบริหารทรัพยากร (วัสดุ อุปกรณ์ในการดำเนินงาน) 4) การบริหารจัดการ ในด้านการวางแผน การจัดองค์กร การนำ เช่น การจูงใจ การมอบหมายงาน การสื่อสาร และการขอความร่วมมือในการปฏิบัติงาน และการควบคุม/การประเมินผล นอกจากนี้ พบปัญหา อุปสรรค และแนวทางในการแก้ไขปัญหาในการบริหารงานได้แก่ ปัญหาด้านบุคลากร เช่น บุคลากร ไม่เพียงพอกับการให้บริการผู้ป่วย ปัญหาความขัดแย้งระหว่างพยาบาลกับเพื่อนร่วมงาน กับแพทย์ และกับผู้ป่วย เจ้าหน้าที่ไม่ให้การยอมรับหัวหน้า และไม่ปฏิบัติตามระเบียบของหน่วยงาน ปัญหาด้านงบประมาณ ปัญหาด้านวัสดุอุปกรณ์ในการดำเนินงาน เช่น วัสดุอุปกรณ์ เครื่องมือแพทย์มีไม่เพียงพอ ขาดการบำรุงรักษาเครื่องมือแพทย์ที่ถูกต้อง และหัวหน้าขาดความเข้าใจในการเบิกพัสดุครุภัณฑ์ และปัญหาด้านการให้บริการแก่ผู้ป่วยยังไม่มีคุณภาพ เช่น คุณภาพการให้บริการของพยาบาลและแพทย์ และความล่าช้าในการส่งต่อ และในการเตรียม บุคลากรเข้าสู่ตำแหน่งหัวหน้าหน่วยงานทางการพยาบาล ต้องมีการเตรียมคน เตรียมความพร้อมในการบริหาร และมีภาวะผู้นำ จึงจะทำให้ประสบความสำเร็จในการบริหารงานth_TH
dc.formatapplication/pdfen_US
dc.language.isothth_TH
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)en_US
dc.rights.urihttps://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/en_US
dc.sourceBorn digitalen_US
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาพยาบาลศาสตร์ --วิทยานิพนธ์th_TH
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. แขนงวิชาการบริหารการพยาบาล --วิทยานิพนธ์th_TH
dc.subjectการพยาบาล--การบริหารth_TH
dc.titleประสบการณ์สู่ความสำเร็จในการบริหารงานของหัวหน้าหน่วยงานทางการพยาบาลโรงพยาบาลระดับตติยภูมิ สังกัดกระทรวงสาธารณสุขในจังหวัดนนทบุรีth_TH
dc.title.alternativeExperience for success in management of head nurses at a tertiary care hospital under Ministry of Public Health in Nonthaburi Provinceth_TH
dc.typeThesisth_TH
dc.degree.nameพยาบาลศาสตรมหาบัณฑิตth_TH
dc.degree.levelปริญญาโทth_TH
dc.degree.disciplineสาขาวิชาพยาบาลศาสตร์th_TH
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.description.abstractalternativeThe purpose of this qualitative study was to explore the experience for success in management of Head Nurses at a Tertiary Care Hospital under Ministry of Public Health in Nonthaburi Province. Key informants were 15 Head Nurses at a Tertiary Care Hospital under Ministry of Public Health in Nonthaburi Province who were awarded as the most outstanding in Nursing Administration during 2009 – 2014. They were recruited by purposive sampling. In-depth interviews were conducted for collecting data. All interviews were tape-recorded and transcribed. Then the contents were analyzed by using Colaizzi analysis. The result revealed that Head Nurses who were awarded as the most outstanding in Nursing Administration have experienced for success in management as follows (1) Human Resource Management by human development such as staff training educating during work and supervising, giving encouragement by commendation, pep talk, monetary incentive, extra activity on special occasion, giving welfare and any support, teamwork building, flexibility, regulation, equitibility and transparency in work. (2) Budget Management (3) Material Management (4) Administration by Planning2, Organizing, Leading such as motivation, assignment, communication, co-operation and evaluation, and Controlling/2 Evaluating. Beside,there are many difficulties in administration as follows 1) lacking of human resource such as insufficient personal, workplace conflicts between nurses, between nurses and doctors, between nurses and patient, staff didn’t respect the Head Nurse and against the rules of the office. 2) lacking of budget 3) lacking of Medical such as equipment shortage, proper equipment maintenance, proper procedure for material disbursement 4) lacking of good service quality of nurse and doctor, referring delay. They must prepare human resource, readiness and leadership to be successful in managementen_US
Appears in Collections:Nurse-Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
fulltext 153718.pdfเอกสารฉบับเต็ม22.4 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons