Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/6731
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorจำเนียร ราชแพทยาคม, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.authorไอลดา ใจทัน, 2533- ผู้แต่งth_TH
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาวิทยาการจัดการth_TH
dc.date.accessioned2023-06-26T07:18:30Z-
dc.date.available2023-06-26T07:18:30Z-
dc.date.issued2562-
dc.identifier.urihttps://ir.stou.ac.th/handle/123456789/6731-
dc.description.abstractการศึกษานี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) ศึกษาความคิดเห็นเกี่ยวกับปัจจัยทางการบริหารที่เกี่ยวข้องกับคุณภาพการให้บริการประชาชนของสำนักงานสวัสดิการและคุ้มครองแรงงานจังหวัด สมุทรสาคร (2) ศึกษาระดับคุณภาพของการให้บริการประชาชนของสำนักงานสวัสดิการและคุ้มครอง แรงงานจังหวัดสมุทรสาคร (3) ศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างปัจจัยทางการบริหารกับคุณภาพการให้บริการประชาชนของสำนักงานสวัสดิการและคุ้มครองแรงงานจังหวัดสมุทรสาคร และ (4) เสนอแนวทาง การพัฒนาคุณภาพการให้บริการประชาชนของเจ้าหน้าที่สำนักงานสวัสดิการและคุ้มครองแรงงานจังหวัด สมุทรสาคร การศึกษานี้เป็นการวิจัยเชิงสำรวจประชากรคือ ประชาชนผู้มาใช้บริการที่สำนักงานสวัสดิการและคุ้มครองแรงงานจังหวัดสมุทรสาครช่วงเดือนเมษายนถึงกรกฎาคม 2563 จำนวน 13,380 คน กำหนดขนาดของกลุ่มตัวอย่างคำนวณด้วยสูตรของทาโร่ ยามาเน่ ได้ขนาดกลุ่มตัวอย่าง 388 คน สุ่มตัวอย่างแบบบังเอิญ เครื่องมือที่ใช้คือ แบบสอบถาม สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่่ ค่าความถี่ ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย ค่าส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และการวิเคราะห์ค่าสหสัมพันธ์ของเพียร์สัน ผลการศึกษาพบว่า (1) ระดับความคิดเห็นเกี่ยวกับปัจจัยทางการบริหารที่เกี่ยวข้องกับคุณภาพการให้บริการประชาชนของสำนักงานสวัสดิการและคุ้มครองแรงงาน ในภาพรวมอยู่ในระดับมาก (2) ระดับ คุณภาพการให้บริการประชาชนของสำนักงานสวัสดิการและคุ้มครองแรงงานจังหวัดสมุทรสาครในภาพรวมอยู่ในระดับมากที่สุด โดยด้านความเป็นรูปธรรมของการบริการมีค่าเฉลี่ยสูงที่สุด รองลงมาคือ ด้านความเชื่อถือ ไว้วางใจได้ ด้านการตอบสนองต่อผู้รับบริการ และความเข้าใจผู้รับบริการ ตามลำดับ (3) ความสัมพันธ์ระหว่างปัจจัยทางการบริหารกับคุณภาพการให้บริการประชาชนของสำนักงานสวัสดิการและคุ้มครองแรงงานจังหวัดสมุทรสาคร มีความสัมพันธ์ในทิศทางเดียวกันในระดับมากอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.01 และ (4) ข้อเสนอแนะแนวทางการพัฒนาคุณภาพการให้บริการประชาชน คือ ควรส่งเสริมให้บุคลากรทุกคนในองค์การมีส่วนร่วมในการกำหนดแนวทางการบริหาร การปฏิบัติงาน กระบวนการ รวมไปถึงความรู้เกี่ยวกับการปฏิบัติงาน ควรมีการนำเทคโนโลยีสารสนเทศมาประยุกต์ใช้ในการปฏิบัติงาน เพื่อให้สามารถบูรณาการ ระบบงานบริการประชาชนอย่างเป็น ระบบและทันสมัยth_TH
dc.formatapplication/pdfen_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)en_US
dc.rights.urihttps://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/-
dc.sourceBorn digitalen_US
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาวิทยาการจัดการ --การศึกษาเฉพาะกรณีth_TH
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. แขนงวิชาบริหารรัฐกิจ --การศึกษาเฉพาะกรณีth_TH
dc.subjectสำนักงานสวัสดิการและคุ้มครองแรงงาน--ความพอใจของผู้ใช้บริการth_TH
dc.subjectบริการลูกค้าth_TH
dc.subjectการศึกษาอิสระ--บริหารรัฐกิจth_TH
dc.titleปัจจัยที่มีความสัมพันธ์ต่อคุณภาพการให้บริการประชาชน สำนักงานสวัสดิการและคุ้มครองแรงงาน จังหวัดสมุทรสาครth_TH
dc.title.alternativeFactors related to the quality of public service of the Samut Sakhon Labor Protection and Welfare Officeen_US
dc.typeThesisen_US
dc.degree.nameรัฐประศาสนศาสตรมหาบัณฑิตth_TH
dc.degree.levelปริญญาโทth_TH
dc.degree.disciplineสาขาวิชาวิทยาการจัดการth_TH
dc.description.abstractalternativeThe objectives of this study were (1) to study the opinion on administrative factors related to the quality of public service of the Samut Sakhon Labor Protection and Welfare Office (2) to study quality of public service level of the Samut Sakhon Labor Protection and Welfare Office (3) to study the relationship between administrative factors and the quality of public service of Samut Sakhon Labor Protection and Welfare Office, and (4) to recommend development guidelines of public service of the officials of Samut Sakhon Labor Protection and Welfare Office. This study was a survey research. The population was 13,380 people who received the services at Samut Sakhon Labor Protection and Welfare Office from April to July 2020. The sample size was calculated by using Taro Yamane formula and obtained 388 samples with accidental sampling method. The research instruments used a questionnaire. Statistics for data analysis employed frequency, percentage, mean, standard deviation and Pearson's Product-moment Correlation Coefficient. The results of this study showed that (1) an overview of opinion level on administrative factors related to the quality of public service of the Samut Sakhon Labor Protection and Welfare Office was at high level (2)an overview of quality of public service level of the Samut Sakhon Labor Protection and Welfare Office was at the highest level, which tangibility was at the highest mean, followed by reliability, responsiveness and understanding of customer, respectively (3) the relationship between administrative factors and the quality of public service of Samut Sakhon Labor Protection and Welfare Office was positively correlated at high level at statistically significant at 0.01 level, and(4) Recommendations for development guidelines of public service were there should encourage all of the personnel to participate in formulating service process, performance, procedure as well as implementing knowledge. Also there should apply information technology to manage the job so as to be able to integrate public service systematically and modernlyen_US
Appears in Collections:Manage-Independent study

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
FULLTEXT_164032.pdfเอกสารฉบับเต็ม17.08 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons