Please use this identifier to cite or link to this item:
https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/6739
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.advisor | รังสรรค์ ประเสริฐศรี | th_TH |
dc.contributor.author | มาริสา ศรีอุฬาร์ | th_TH |
dc.contributor.other | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สำนักบัณฑิตศึกษา | th_TH |
dc.date.accessioned | 2023-06-26T08:12:14Z | - |
dc.date.available | 2023-06-26T08:12:14Z | - |
dc.date.issued | 2551 | - |
dc.identifier.uri | https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/6739 | en_US |
dc.description | วิทยานิพนธ์ (บธ.ม. (บริหารรัฐกิจ))--มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช, 2551 | th_TH |
dc.description.abstract | การศึกษาครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) รักษาความพร้อมในการบริหารจัดการตามแนวทางการบริหารกิจการบ้านเมึองที่ดีขององค์การบริหารส่วนตำบลในจังหวัดนครศรีธรรมราช และ (2) ศึกษาแนวทางการพัฒนาการบริหารจัดการตามแนวทางการบริหารกิจการบ้านเมืองที่ดี ขององค์การบริหารส่วนตำบล ในจังหวัดนครศรีธรรมราช ทั้งนี้ได้นำแนวทางการบริหารกิจการบ้านเมืองที่ดี ซึ่งประกอบด้วย 6 หลัก ได้แก่ หลักนิติธรรม หลักคุณธรรม หลักความโปร่งใสหลักการมีส่วนร่วม หลักความรับผิดชอบ และหลักความคุ้มค่า มาเป็นกรอบแนวคิดการศึกษาครั้งมีเป็นการวิจัยเชิงสำรวจ โดยใช้แบบสอบถามที่ได้ผ่านการทดสอบทั้ง ความเที่ยงตรงและความเชื่อถือได้ของแบบสอบถาม หลังจากนั้นได้เก็บรวบรวมข้อมูลจากกลุ่มตัวอย่าง คือพนักงานส่วนตำบลในจังหวัดนครศรีธรรมราช รวมจำนวน 351 คน สำหรับสถิติที่ นำมาใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูลคือ ค่ารัอยละ ค่าเฉลี่ย ค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน และการทดสอบค่าที ผลการศึกษาพบว่า (1) ความพร้อมในการบริหารจัดการตามแนวทางการบริหารกิจการบ้านเมืองที่ดีขององค์การบริหารส่วนตำบลในจังหวัดนครศรีธรรมราช อยู่ในระดับปานกลางและ (2) ความคิดเห็นต่อแนวทางการพัฒนาการบริหารจัดการตามแนวทางการบริหารกิจการบ้านเมืองที่ดีขององค์การบริหารส่วนตำบลในจังหวัดนครศรีธรรมราชที่สำคัญ คือ องค์การบริหารส่วนตำบลจะต้องกำหนดบทบาท พันธกิจ ให้ชัดเจน สอคคลัองกับรัฐธรรมนูญ และหลักการบริหารกิจการบ้านเมืองที่ดี โดยสามารถอำนวยความสะดวก และตอบสนองความต้องการของประชาชนได้ | th_TH |
dc.format | application/pdf | en_US |
dc.language.iso | th | en_US |
dc.publisher | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช | th_TH |
dc.relation.uri | https://www.doi.org/10.14457/STOU.the.2008.118 | en_US |
dc.rights | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช | th_TH |
dc.rights | Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0) | en_US |
dc.rights.uri | https://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/ | en_US |
dc.source | Born digital | en_US |
dc.subject | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาวิทยาการจัดการ--วิทยานิพนธ์ | th_TH |
dc.subject | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. แขนงวิชาบริหารรัฐกิจ--วิทยานิพนธ์ | th_TH |
dc.subject | องค์การบริหารส่วนตำบล--การบริหาร--ไทย--นครศรีธรรมราช | th_TH |
dc.subject | การบริหารรัฐกิจ--ไทย--นครศรีธรรมราช | th_TH |
dc.subject | องค์การบริหารส่วนตำบล--ไทย--นครศรีธรรมราช | th_TH |
dc.title | ความพร้อมในการบริหารจัดการตามแนวทางการบริหารกิจการบ้านเมืองที่ดีขององค์การบริหารส่วนตำบลในจังหวัดนครศรีธรรมราช | th_TH |
dc.title.alternative | Management administration's readiness following the good governance principles of sub-district administrative organization in Nakhon Si Thammarat province | en_US |
dc.type | Thesis | en_US |
dc.identifier.DOI | 10.14457/STOU.the.2008.118 | - |
dc.identifier.url | https://www.doi.org/10.14457/STOU.the.2008.118 | en_US |
dc.degree.name | รัฐประศาสนศาสตรมหาบัณฑิต | th_TH |
dc.degree.level | ปริญญาโท | th_TH |
dc.degree.discipline | สาขาวิชาวิทยาการจัดการ | th_TH |
dc.degree.grantor | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช | th_TH |
dc.description.abstractalternative | The purposes of this study were : (1) to study readiness in the management administration following the good governance principles of sub-district administrative organization in Nakhon Si Thammarat province ; and (2) to study the management administration development guidelines in accordance with the good governance principles of sub-district administrative organization in Nakhon Si Thammarat province .The conceptual framework of the six good governance principles are : Rule of Law, Ethics, Transparency, Participation, Accountability and Value for Money were applied to this study. This study was based on a survey research by using questionnaires which had been pretested and checked for reliability and validity. The sample group in this study was selected by random sample from sub-district officers in Nakhon Si Thammarat province in the amount of 351 people . The statistical methods used in this study were percentage, mean, standard deviation, and t-test. The results of this study found that :(1) the readiness in the management administration following the good governance principles of sub-district administrative organization in Nakhon Si Thammarat province is in the medium level and (2) the guidelines to develop the good governance principles of sub-district administrative organization in Nakhon Si Thammarat province is that the sub-district administrative organization must determine the roles, obligations which correspond to the constitution, and the good governance principle of administration which can facilitate and respond to the needs of the people. | en_US |
dc.contributor.coadvisor | สมศักดิ์ สามัคคีธรรม | th_TH |
Appears in Collections: | Manage-Theses |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
112154.pdf | เอกสารฉบับเต็ม | 4.97 MB | Adobe PDF | View/Open |
This item is licensed under a Creative Commons License