Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/673
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorสมพร พุทธาพิทักษ์ผลth_TH
dc.contributor.authorสุชาดา เนตรภักดี, 2512-th_TH
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สำนักบัณฑิตศึกษาth_TH
dc.date.accessioned2022-08-17T08:08:40Z-
dc.date.available2022-08-17T08:08:40Z-
dc.date.issued2551-
dc.identifier.urihttp://ir.stou.ac.th/handle/123456789/673en_US
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (ศศ.ม. (สารสนเทศศาสตร์))--มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช, 2551th_TH
dc.description.abstractการวิจัยในครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) ประเมินคุณภาพบริการของห้องสมุดศูนย์วิทยพัฒนา มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช และ (2) เปรียบเทียบคุณภาพบริการของห้องสมุดระหว่างศูนย์วิทยพัฒนา มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชทั้ง 10 แห่ง กลุ่มตัวอย่างคือ ผู้ไช้บริการห้องสมุดของศูนย์วิทยพัฒนา มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช 10 แห่ง ได้แก่ ศูนย์วิทยพัฒนา มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช นครศรีธรรมราช ยะลา เพชรบุรี จันทบุรี นครนายก นครสวรรค์ สุโขทัย ลำปาง อุดรธานี และอุบลราชธานี ประกอบด้วย นักศึกษาระดับปริญาตรี ระดับบัณฑิดศึกษา และประชาชน จำนวน 1,752 คน (โดยเก็บข้อมูลในช่วงเดือน ตุลาคม 2547 - มีนาคม 2548) เครึ่องมือที่ใช้ในการวิจัยเป็นแบบสอนถามซึ่งประยุกต์จากเครื่องมือประเมินคุณภาพบริการเซิร์ฟควอล (SERVQUAL) มีค่าความเที่ยงเท่ากับ 0.98 วิเคราะห์ข้อมูลโดย การหาสถิติเชิงบรรยาย และการทดสอบค่าที ผลการวิจัยพบว่า คุณภาพบริการโดยรวมมีค่าเป็นบวกในทุกด้าน โดยด้านที่มีคุณภาพบริการมากที่สุด ได้แก่ ด้านการให้ความสนใจแก่ผู้ใช้บริการ (+0.48) รองลงมา คือ ด้านการตอบสนองต่อผู้ใช้บริการ (+0.45) ด้านความเข้าใจและเห็นอกเห็นใจในตัวผู้ใช้บริการ (+0.44) ด้านความเชื่อถือไว้วางใจได้ (+0.40) และด้านลักษณะที่จับต้องได้ (+0.20) ผลการเปรียบเทียบคุณภาพบริการของห้องสมุดระหว่างศูนย์วิทยพัฒนา มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช ทั้ง 10 แห่ง พบว่า ศูนย์วิทยพัฒนาที่มีคุณภาพบริการของห้องสมุดมากที่สุด คือ ศูนยวิทยพัฒนา มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช นครสวรรค์ รองลงมา คือ ศูนย์วิทยพัฒนา มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมธิราช นครศรีธรรมราช ส่วนศูนยวิทยพัฒนาที่มีคุณภาพบริการของห้องสมุดน้อยที่สุด คือ ศูนยวิทยพัฒนา มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช อุดรธานี รองลงมา คือ ศูนย์วิทยพัฒนา มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช อุบลราชธานี และผลการทดสอบสมมุติฐานเปรียบเทียบความแตกต่างระหว่างความคาดหวัง การรับรู้และคุณภาพบริการต่อบริการห้องสมุดศูนย์วิทยพัฒนา มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช ของนักศึกษามหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชและประชาชน พบว่า (1) นักศึกษามหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช และประชาชนมีความคาดหวังต่อบริการห้องสมุดศูนย์วิทยพัฒนา มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชแตกต่างกันอย่างไม่มีนัยสำคัญทางสถิดิ (2) นักศึกษามหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชและประชาชนมีการรับรู้ต่อบริการห้องสมุดศูนย์วิทยพัฒนา มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช แตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.00 โดยประชาชนมีการรับรู้ต่อบริการห้องสมุดสูงกว่านักศึกษา และ (3) นักศึกษามหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชและประชาชนประเมินคุณภาพบริการของห้องสมุดศูนย์วิทยพัฒนา มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช แตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติทีระดับ 0.00 โดยประชาชนประเมินคุณภาพบริการของห้องสมุดสูงกว่านักศึกษาth_TH
dc.formatapplication/pdfen_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)en_US
dc.rights.urihttps://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/en_US
dc.sourceBorn digitalen_US
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาศิลปศาสตร์--วิทยานิพนธ์th_TH
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. แขนงวิชาสารสนเทศศาสตร์--วิทยานิพนธ์th_TH
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. ห้องสมุดศูนย์วิทยพัฒนา--บริการสารสนเทศth_TH
dc.subjectบริการสารสนเทศ--การประเมินth_TH
dc.subjectห้องสมุด--การประเมินth_TH
dc.titleการประเมินคุณภาพบริการของห้องสมุดศูนย์วิทยพัฒนา มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.title.alternativeEvaluation of service quality of Area Resource Center Libraries, Sukhothai Thammathirat Open Universityen_US
dc.typeThesisen_US
dc.degree.nameศิลปศาสตรมหาบัณฑิตth_TH
dc.degree.levelปริญญาโทth_TH
dc.degree.disciplineสาขาวิชาศิลปศาสตร์th_TH
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.description.abstractalternativeThe purpose of this study were to (1) evaluate ten Area Resource Center Libraries, Sukhothai Thammathirat Open University; and (2) compare their service quality. Research sample comprised 1,742 library users of ten Area Resource Center Libraries, Sukhothai Thammathirat Open University. The research instrument was a self-administered questionnaire using SERVQUAL concept. The Cronbach’s Alpha coeffiency of the questionnaire was 0.98. The data were analyzed by descriptive statistics and t-test. It was found that the overall service quality in all five dimentions was high in the following order: assurance (+0.48), responsiveness (+0.45), empathy (+0.44), reliability (+0.40) and tangibles (+0.20). The Area Resource Center (ARC) Library at Nakhonsawan got the highest score, followed by Nakhon Si Thammarat. The ARC Library at Udonthani got the lowest score. In addition, (1) The difference between the expectations about the ARC Library service quality of the STOU students and the general public did not differ significantly from one another. (2) The difference between the perceived service quality of the students and the public differed significantly from one another (p<.00). (3) The differences between the overall service quality of the students and the public was statistically significant (p<.00)en_US
dc.contributor.coadvisorกาญจนา ใจกว้างth_TH
Appears in Collections:Arts-Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
fulltext (6).pdfเอกสารฉบับเต็ม5.99 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons