Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/6747
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorกิ่งพร ทองใบ, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.advisorราณี อิสิชัยกุล, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.authorสุพรรณี บัวสร้อย-
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สำนักบัณฑิตศึกษาth_TH
dc.date.accessioned2023-06-27T03:42:52Z-
dc.date.available2023-06-27T03:42:52Z-
dc.date.issued2551-
dc.identifier.urihttps://ir.stou.ac.th/handle/123456789/6747-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (บธ.ม. (บริหารธุรกิจ))--มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช, 2551th_TH
dc.description.abstractการวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) ศึกษาระดับความผูกพันต่อองค์การ ของพนักงาน อุตสาหกรรมกล่องกระดาษลูกฟูก ในจังหวัดปทุมธานี (2) ปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อระดับความผูกพัน ของ พนักงานอุตสาหกรรมกล่องกระดาษลูกฟูกในจังหวัดปทุมธานี (3) เพื่อเสนอแนะแนวทางในการ เสริมสร้างระดับ ความผูกพันต่อองค์การของพนักงานอุตสาหกรรมกล่องกระดาษลูกฟูก ในจังหวัด ปทุมธานี การวิจัยใช้วิธีการวิจัยเชิงสำรวจ ประชากรคือ พนักงานอุตสาหกรรมกล่องกระดาษ ลูกฟูกในจังหวัดปทุมธานี รวม 1,081 คน การสุ่มตัวอย่างใช้วิธีการสุ่มตัวอย่างแบบแบ่งกลุ่มหลาย ขั้นตอนได้กสุ่มตัวอย่าง จำนวน 292 คน เครื่องมีอในการวิจัยใช้แบบสอบถาม การวิเคราะห์ข้อมูล ใช้สถิติเชิงพรรณนาคือ คำมัชณิม และค่าร้อยละ สถิติเชิงอนุมานใช้การทดสอบแบบที แบบเอฟ และการวิเคราะห์ความสัมพันธ์รายคู่แบบเชฟเฟ่ ผลการวิจัยพบว่า (1) พนักงานอุตสาหกรรมกล่องกระดาษลูกฟูกในจังหวัดปทุมธานีมี ระดับความผูกพันต่อองค์การระดับมาก (X = 3.48) (2) ปัจจัยลักษณะบุคคล ด้านเพศ อายุ ระยะเวลา ในการทำงาน และระดับรายได้มีความสัมพันธ์กับระดับความผูกพันต่อองค์การของพนักงานอย่างมี นัยสำคัญทางสถิติ ณ ระดับแอลฟา 0.05 ส่วนปัจจัยลักษณะงานได้แก่ ลักษณะงานที่ปฏิบัติ ลักษณะ การมีส่วนรวม ลักษณะการติดต่อสื่อสาร รูปแบบการบังคับบัญชามีความสัมพันธ์กับระดับความ ผูกพันต่อองค์การของพนักงานอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ ณ ระดับแอลฟา 0.05 และ (3) ควรจัดให้มี การส่งเสริมให้พนักงานชายมีส่วนรวมในการทำงานเพิ่มมากขึ้น และให้โอกาสพนักงานที่มีช่วงอาอยุ น้อยกว่า 26 ปีและระยะเวลาในการทำงานน้อยกว่า 3 ปีมีส่วนรวมในการทำงานและการแสดงความ คิดเห็นเพิ่มมากขึ้นth_TH
dc.formatapplication/pdfen_US
dc.language.isothth_TH
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.relation.urihttps://www.doi.org/10.14457/STOU.the.2008.229-
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)en_US
dc.rights.urihttps://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/en_US
dc.sourceBorn digitalen_US
dc.subjectความผูกพันต่อองค์การ--ไทย--ปทุมธานีth_TH
dc.subjectอุตสาหกรรมกล่องกระดาษ--ไทย--ปทุมธานีth_TH
dc.titleปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อความผูกพันในองค์การของพนักงานอุตสาหกรรมกล่องกระดาษลูกฟูก ในจังหวัดปทุมธานีth_TH
dc.title.alternativeFactors affecting organization commitment of employees of corrugated box industry in Pathum Thani Provinceth_TH
dc.typeThesisth_TH
dc.identifier.DOI10.14457/STOU.the.2008.229-
dc.degree.nameบริหารธุรกิจมหาบัณฑิตth_TH
dc.degree.levelปริญญาโทth_TH
dc.degree.disciplineสาขาวิชาวิทยาการจัดการth_TH
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.description.abstractalternativeThe objectives of this research were (I) to study level of organization commitment among employees of corrugated box industry in Patumthani Province ; (2) to study factors affecting organization commitment of employees of corrugated box industry in Patumthani Province; and (3) to give suggestions to increase organization commitment of employees of corrugated box industry in Patumthani Province. This study was the survey researches. The population of employees of corrugated box industry in Patumthani Province was by a total of 1,081 employees. The samples Consists of 292 employees using stratified random sampling. The instrument used for collecting data was questionnaires. Statistical tools employed for descriptive statistical analysis were mean and percentage, and those for inferential statistical analysis were t-test, F-test, and Scheffe test. Research findings showed that (1) the employees of corrugated box industry in Patumthani Province had the organization commitment at the high level. (2) Personal characteristic .factors in terms of gender, age, year of work, and level of income were related significantly to the level of organization commitment of employees at the 0.05 level. Work characteristic factors in terms of work type, participation, communication, leadership style were significantly related to the level of organization commitment of the employees at the 0.05 level; and (3) the results suggested that work participation among male employees should be enhanced well as opportunity for older male employees with a few years of work should be promoted for work and participation opinion contributionen_US
Appears in Collections:Manage-Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
112185.pdfเอกสารฉบับเต็ม4.47 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons