Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/6748
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorเฉลิมพงศ์ มีสมนัย, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.advisorจิระ ประทีป, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.authorจุฬารัตน์ คำวงค์ปิ่น-
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สำนักบัณฑิตศึกษาth_TH
dc.date.accessioned2023-06-27T04:06:44Z-
dc.date.available2023-06-27T04:06:44Z-
dc.date.issued2551-
dc.identifier.urihttps://ir.stou.ac.th/handle/123456789/6748-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (บธ.ม. (บริหารรัฐกิจ))--มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช, 2551th_TH
dc.description.abstractการศึกษาครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษา (1) วิธีการและเทคนิคที่มีประสิทธิผลในการ พัฒนาสมรรถนะหลักของข้าราชการกรมสวัสดิการและคุ้มครองแรงงาน (2) แนวทางในการพัฒนา สมรรถนะหลักของข้าราชการกรมสวัสดิการและคุ้มครองแรงงาน กลุ่มตัวอย่างที่ใชัในการวิจัยคือ ข้าราชการกรมสวัสดิการและคุ้มครองแรงงานจำนวน 318 คน เครื่องมือที่ใช้เป็นแบบสอบถามมีค่าความเที่ยงเท่ากับ 0.88 สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ รัอยละ ค่าเฉลี่ย ค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน การทดสอบค่าที การวิเคราะห์ความแปรปรวนที่ระดับ นัยสำคัญทางสถิติ 0.05 และการเปรียบเทียบพหุคูณโดยการเปรียบเทียบผลต่างระหว่างค่าเฉลี่ย ประชากรโดยการทดสอบ LSD ผลการวิจัย พบว่า สมรรถนะหลักมีความจำเป็นต่อการนำไปใช้ปฏิบัติราชการให้เกิด ประสิทธิผลอยู่ในระดับมาก ซึ่งสมรรถนะหลักด้านการพัฒนาตนเองอย่างต่อเนื่องเป็นสมรรถนะที่ จะทำให้เกิดประสิทธิผลในลำดับแรก (1) วิธีการและเทคนิคสำหรับใช้ในการพัฒนาสมรรถนะ หลักให้เกิดประสิทธิผล ได้แก่ การพัฒนาการศึกษาและการฝึกอบรมตามลำดับ (2) แนวทางใน การพัฒนาสมรรถนะหลักด้านการพัฒนาตนเองอย่างต่อเนื่อง ความรู้ด้านแรงงาน ด้านการทำงาน เป็นทีม ด้านจิตสำนึกด้านการให้บริการ ด้านจริยธรรม ด้านภาวะผู้นำ ด้านความรู้ด้านเทคโนโลยี สารสนเทศและด้านการคิดเชิงระบบของข้าราชการให้เกิดประสิทธิผลได้แก่การให้การพัฒนา การให้การศึกษา และการดำเนินการฝึกอบรมตามลำดับth_TH
dc.formatapplication/pdfen_US
dc.language.isothth_TH
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.relation.urihttps://www.doi.org/10.14457/STOU.the.2008.213-
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)en_US
dc.rights.urihttps://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/en_US
dc.sourceBorn digitalen_US
dc.subjectสมรรถนะth_TH
dc.titleการพัฒนาสมรรถนะหลักของข้าราชการกรมสวัสดิการและคุ้มครองแรงงานth_TH
dc.title.alternativeThe development of Department of Labour Protection and Welfare's Core Competenciesth_TH
dc.typeThesisth_TH
dc.identifier.DOI10.14457/STOU.the.2008.213-
dc.degree.nameรัฐประศาสนศาสตรมหาบัณฑิตth_TH
dc.degree.levelปริญญาโทth_TH
dc.degree.disciplineสาขาวิชาวิทยาการจัดการth_TH
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.description.abstractalternativeThe purposes of this research were to (1) examine the effective methods and techniques to develop core competencies for personnel of Department of Labour Protection and Welfare (2) examine the guideline to develop core competencies for personnel of Department of Labour Protection and Welfare. Samples consisted of 318 officers of Labour Protection and Welfare. Instrument used was questionnaire with 0.88 level of reliability. Statistical tools employed were percentage, mean, standard deviation, t-test, ANOVA at 0.05 level of significance, and multiple comparison of mean differences using LSD. The research result revealed that the implementation of core competencies were necessary for performance effectiveness of the agency, and core competency on continuous individual development was found to be first priority, (1) on method and technique for core competency development, priority should be put on educational development and training (2) guideline for continuously developing individual development, including knowledge on labour, team work, service mind, ethics, leadership, knowledge on information technology, and systematic thinking of personnel were development provision, education and training arrangement respectivelyen_US
Appears in Collections:Manage-Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
112186.pdfเอกสารฉบับเต็ม6.24 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons