Please use this identifier to cite or link to this item:
https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/6751
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.advisor | สฤษดิ์พงษ์ ลิมปิษเฐียร | th_TH |
dc.contributor.author | ซัยดี ยามู, 2523- | th_TH |
dc.contributor.other | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาศึกษาศาสตร์ | th_TH |
dc.date.accessioned | 2023-06-27T04:27:05Z | - |
dc.date.available | 2023-06-27T04:27:05Z | - |
dc.date.issued | 2561 | - |
dc.identifier.uri | https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/6751 | en_US |
dc.description.abstract | การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) ศึกษาสภาพการทั่วไปของนักเรียนในโรงเรียนบ้านปาเระ อำเภอเมืองปัตตานี จังหวัดปัตตานี (2) ศึกษาสภาพการดำเนินการระบบดูแลช่วยเหลือนักเรียนในโรงเรียนบ้านปาเระ อำเภอเมืองปัตตานี จังหวัดปัตตานี และ (3) เสนอแนะแนวทางการดำเนินการระบบดูแลช่วยเหลือนักเรียนในโรงเรียนบ้านปาเระ อำเภอเมืองปัตตานี จังหวัดปัตตานี กลุ่มผู้ให้ข้อมูลได้จากการเลือกแบบเจาะจงจากผู้ที่มีความเกี่ยวข้องกับระบบดูแลช่วยเหลือนักเรียนในโรงเรียนบ้านปาเระ อำเภอเมืองปัตตานี จังหวัดปัตตานี ประกอบไปด้วยครูที่ปรึกษาชั้นประถมศึกษาปีที่ 1 ถึงชั้นประถมศึกษา ปีที่ 6 จำนวน 6 คน และผู้บริหารสถานศึกษา รวมผู้ให้ข้อมูลทั้งสิ้น 7 คน เครื่องมือการวิจัยเป็นแบบสัมภาษณ์แบบเจาะลึกเกี่ยวกับการดำเนินการระบบดูแลช่วยเหลือนักเรียนและวิเคราะห์ข้อมูลโดยการวิเคราะห์เนื้อหาผลการวิจัยปรากฏว่า (1) สภาพนักเรียนในโรงเรียนบ้านปาเระ พบว่านักเรียนมีภาวะโภชนาการตามเกณฑ์มาตรฐานคิดเป็นร้อยละ 81.89 และอาศัยร่วมกับบิดา มารดา คิดเป็นร้อยละ78.74 (2) ในภาพรวมครูที่ปรึกษาแต่ละชั้นได้ดำเนินการตามระบบดูแลช่วยเหลือนักเรียน และมีการส่งต่อภายนอกนักเรียนที่มีปัญหาด้านการเรียนรู้คัดกรองโดยผู้เชี่ยวชาญเฉพาะทางและทำการรักษา (3) ข้อเสนอแนะในการดำเนินการคือโรงเรียนจัดตั้งคณะกรรมการผู้ปกครองชั้นเรียนเพื่อประสานความร่วมมือแก้ไขปัญหาพฤติกรรมนักเรียนประกอบไปด้วยทุกภาคส่วนใชสื่อสังคมออนไลน์เป็นสื่อกลางประสานงาน ควรเปิดโอกาสให้นักเรียนเข้าถึงครูด้วยวิธีการที่หลากหลาย ครูที่สอนร่วมชั้นแต่ละช้้นเรียนควรมีการแลกเปลี่ยนข้อมูล ส่งเสริมความถนัดความสนใจของนักเรียนฝึกทักษะต่างๆ จัดอบรมให้ความรู้ด้านจิตวิทยาเด็กแก่ครูและควรประสานศูนย์การศึกษาพิเศษในการดูแลนักเรียนที่มีความบกพร่องทาง การเรียนรู้ | th_TH |
dc.format | application/pdf | en_US |
dc.language.iso | th | en_US |
dc.publisher | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช | th_TH |
dc.rights | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช | th_TH |
dc.rights | Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0) | en_US |
dc.rights.uri | https://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/ | en_US |
dc.source | Born digital | en_US |
dc.subject | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาศึกษาศาสตร์--การศึกษาเฉพาะกรณี | th_TH |
dc.subject | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. แขนงวิชาบริหารการศึกษา--การศึกษาเฉพาะกรณี | th_TH |
dc.subject | ความช่วยเหลือทางการศึกษา. โรงเรียนประถมศึกษา--ไทย--ปัตตานี--การบริหาร | th_TH |
dc.subject | การศึกษาอิสระ--บริหารการศึกษา | th_TH |
dc.title | แนวทางการดำเนินการระบบดูแลช่วยเหลือนักเรียนโรงเรียนบ้านปาเระ อำเภอเมืองปัตตานี จังหวัดปัตตานี | th_TH |
dc.title.alternative | Guidelines for the operation of student help-care program of Ban Pareh School, Mueang Pattani District, Pattani Province | en_US |
dc.type | Thesis | en_US |
dc.degree.name | ศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต | th_TH |
dc.degree.level | ปริญญาโท | th_TH |
dc.degree.discipline | สาขาวิชาศึกษาศาสตร์ | th_TH |
dc.degree.grantor | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช | th_TH |
dc.description.abstractalternative | The purposes of this research were threefold: (1) to study the general conditions of students in Ban Pareh School, Muang Pattani district, Pattani province; (2) to study the operating conditions of the student help-care program of Ban Pareh School, Muang Pattani district, Pattani province; and (3) to propose guidelines for the operation of student help-care program in Ban Pareh School, Muang Pattani district, Pattani province. The group of 7 research informants, selected from those involved with the student help-care program of Ban Pareh School, Muang Pattani district, Pattani province, consisted of 6 advising teachers in Prathom Suksa I to VI levels, and a school administrator. The research instrument was an in-depth interview form on the operation of student health-care program. Data were analyzed with content analysis. The results of the study revealed that (1) 81.89 percent of the students of Ban Pareh School had the standard nutritional status, and 78.74 percent of them lived with their parents; (2) as the whole, the advising teacher in each class had operated based on the student help-care system and had referred students who had learning problems, as screened by specialists, to receive treatment; and (3) the guidelines for operation of the student help-care program were as follows: the school should establish a classroom parent committee consisting of all sectors to coordinate the cooperation and solve problems of student behaviors with the use of social media as the media for coordination; the students should be provided with the opportunity to gain access to teachers via varieties of ways; the teachers teaching in the same class level should share and exchange the information in order to promote students’ aptitudes and interests, and train students in various skills; the school should train teachers to equip them with knowledge on child psychology; and the school should coordinate with the special education center in taking care of students who had learning disabilities. | en_US |
Appears in Collections: | Edu-Independent study |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
fulltext_162004.pdf | เอกสารฉบับเต็ม | 1.59 MB | Adobe PDF | View/Open |
This item is licensed under a Creative Commons License