Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/6759
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorจำเนียร ราชแพทยาคม, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.authorพิมพ์ชนก ทิพย์มูสิก, 2531- ผู้แต่ง.th_TH
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาวิทยาการจัดการth_TH
dc.date.accessioned2023-06-27T06:52:30Z-
dc.date.available2023-06-27T06:52:30Z-
dc.date.issued2562-
dc.identifier.urihttps://ir.stou.ac.th/handle/123456789/6759-
dc.description.abstractการศึกษานี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) ศึกษากระบวนการจัดการทุนมนุษย์ภายใต้แนวคิดการจัดการภาครัฐแนวใหม่ 4.0 ของสำนักงานปลัดกระทรวงแรงงาน (2) วิเคราะห์การจัดการทุนมนุษย์ ภายใต้แนวคิดการจัดการภาครัฐแนวใหม่ 4.0 ของสำนักงานปลัดกระทรวงแรงงาน และ (3) ศึกษาปัญหา และเสนอแนะแนวทางในการพัฒนาการจัดการทุนมนุษย์ภายใต้แนวคิดการจัดการภาครัฐแนวใหม่ 4.0 ของสำนักงานปลัดกระทรวงแรงงาน การศึกษานี้เป็นการวิจัยเชิงคุณภาพ ประชากร คือ ข้าราชการพลเรือนของสำนักงาน ปลัดกระทรวงแรงงาน โดยเลือกแบบเจาะจงระดับตำแหน่งผู้อำนวยการกลุ่มงานภายในสำนักต่าง ๆ ของสำนักงานปลัดกระทรวงแรงงาน และมีบทบาทเกี่ยวกับการบริหารทรัพยากรมนุษย์ จำนวน 20 คน เครื่องมือที่ใช้ในการเก็บรวบรวมข้อมูล คือ แบบบันทึกการสังเกตแบบมีส่วนร่วม แบบสัมภาษณ์เชิงลึก ส่วนการวิเคราะห์ข้อมูลเป็นการวิเคราะห์เนื้อหาโดยวิธีการสรุปอุปนัย ผลการศึกษาพบว่า (1) กระบวนการจัดการทุนมนุษย์ภายใต้แนวคิดการจัดการภาครัฐแนวใหม่ 4.0 ของสำนักงานปลัดกระทรวงแรงงาน ได้แก่ การสรรหา การคัดเลือก การฝึกอบรมและการพัฒนา การประเมินผล ค่าตอบแทนและสิทธิประโยชน์ และการบริหารจัดการ มีการกำหนดขีดความสามารถของ ข้าราชการในด้านเทคโนโลยี การเตรียมความพร้อมเพื่อทดแทนบุคลากร (2) การจัดการทุนมนุษย์ภายใต้ แนวคิดการจัดการภาครัฐแนวใหม่ 4.0 ที่นำมาดำเนินการ คือ การพัฒนาระบบการจัดการบุคลากรเพื่อ ตอบสนองยุทธศาสตร์ และการสร้างแรงจูงใจ ระบบการทำงานที่เพิ่มประสิทธิภาพ ความคล่องตัวและ มุ่งเน้นผลสัมฤทธิ์ การสร้างวัฒนธรรมการทำงานที่เป็นที่ยอมรับ สร้างการมีส่วนร่วม และระบบการพัฒนา บุคลากรให้มีสมรรถนะ ความรู้ ทักษะ คุณธรรม จริยธรรม ก้าวทันต่อการเปลี่ยนแปลง มุ่งเน้นการนำ เทคโนโลยีสารสนเทศมาใช้ในการปฏิบัติงาน และ (3) ปัญหาที่พบ คือ มีการยึดติดกับระเบียบแบบแผน การกล้าจะเปลี่ยนแปลงมีน้อย บุคลากรยังต้องได้รับการพัฒนาเพิ่มเติมในด้านทักษะภาษาและ การประสานงาน ความรู้ด้านกฎหมายแรงงานที่เกี่ยวข้อง ส่วน ข้อเสนอแนะคือ ควรเพิ่มทักษะผู้นำ การเปลี่ยนแปลงมีการนำเทคโนโลยีมาประยุกต์ใช้ในการทำงาน ทักษะด้านภาษาและการประสานงาน รวมทั้งการจัดการทุนมนุษย์ให้สอดคล้องกับยุทธศาสตร์ขององค์การth_TH
dc.formatapplication/pdfen_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)en_US
dc.rights.urihttps://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/-
dc.sourceBorn digitalen_US
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาวิทยาการจัดการ --การศึกษาเฉพาะกรณีth_TH
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. แขนงวิชาบริหารรัฐกิจ --การศึกษาเฉพาะกรณีth_TH
dc.subjectการบริหารงานบุคคลth_TH
dc.subjectการศึกษาอิสระ--บริหารรัฐกิจth_TH
dc.titleการจัดการทุนมนุษย์ภายใต้แนวคิดการจัดการภาครัฐแนวใหม่ 4.0 ของสำนักงานปลัดกระทรวงแรงงานth_TH
dc.title.alternativeHuman capital management under the Concept of New Public Management 4.0 of the Office of the Permanent Secretary, the Ministry of Laboren_US
dc.typeThesisen_US
dc.degree.nameรัฐประศาสนศาสตรมหาบัณฑิตth_TH
dc.degree.levelปริญญาโทth_TH
dc.degree.disciplineสาขาวิชาวิทยาการจัดการth_TH
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.description.abstractalternativeThis study aimed (1) to study human capital management procedure under the Concept of New Public Management 4.0 of the Office of the Permanent Secretary, the Ministry of Labor (2) to analyze human capital management under the Concept of New Public Management 4.0 of the Office of the Permanent Secretary, the Ministry of Labor, and (3) to study problems and recommend development guidelines for human capital management under the Concept of New Public Management 4.0 of the Office of the Permanent Secretary, the Ministry of Labor. This study was a qualitative research. The population was 20 officials of the Office of the Permanent Secretary, the Ministry of Labor by purposive sampling method with the internal and relevant directors who involved with human resources management work. The research instrument were participative observation form and in-depth interview form. The data analysis employed inductive content conclusion. The findings showed that (1) human capital management procedure under the Concept of New Public Management 4.0 of the Office of the Permanent Secretary, the Ministry of Labor were recruitment, selection, training and development, evaluation, compensation and fringe benefits and management as well as the specified the key potentials on technology application and the readiness for substitution (2) human capital management under the Concept of New Public Management 4.0 of the Office of the Permanent Secretary, the Ministry of Labor that were implemented such as human resources development according to the organizational strategies, motivation system, efficient working system, flexibility, resulted-based concept, acceptable organizational cultures, participation, building of knowledge, skills, morality, ethics, keep pace with change and technology focused, and (3) problems were adherence with regulations, the less courage to change and human resources needed development in language and coordinating skill, and relevant legal knowledgeen_US
Appears in Collections:Manage-Independent study

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
FULLTEXT_164446.pdfเอกสารฉบับเต็ม18.05 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons