Please use this identifier to cite or link to this item:
https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/675
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.advisor | จักรกฤษณ์ ศิวะเดชาเทพ | th_TH |
dc.contributor.author | จิตวิกา สมใจ, 2526- | th_TH |
dc.contributor.other | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สำนักบัณฑิตศึกษา | th_TH |
dc.date.accessioned | 2022-08-17T08:35:56Z | - |
dc.date.available | 2022-08-17T08:35:56Z | - |
dc.date.issued | 2552 | - |
dc.identifier.uri | http://ir.stou.ac.th/handle/123456789/675 | - |
dc.description | วิทยานิพนธ์ (ส.ม.(สาธารณสุขศาสตร์))--มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช, 2552 | th_TH |
dc.description.abstract | การวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษา (1) ปริมาณและลักษณะของของเสียชนิดขี้เถ้าที่เกิดขึ้นจากกระบวนการผลิตซิงค์ออกไซด์ (2) สัดส่วนที่เหมาะสมในการใช้ของเสียชนิดขี้เถ้าที่เกิดขึ้นจากกระบวนการผลิตซิงค์ออกไซด์แทนที่ปูนซีเมนต์ เป็นสัดส่วนผสมในการผลิตคอนกรีตบล๊อค และ (3) ค่าใช้จ่ายในการใช้ของเสียชนิดขี้เถ้าที่เกิดจากกระบวนการผลิตซิงค์ออกไซต์เป็นสัดส่วนผสมในการผลิดคอนกรีตบล็อค การวิจัยนี้เป็นการวิจัยเชิงทดลอง โดยการใช้ขี้เถ้าแทนที่ปูนซีเมนต์ในการผลิตคอนกรีตบล็อคขี้เถ้าที่ใช้ในการทดลองได้มาจากโรงงานเมทอ๊อกไซด์ ประเทศไทย จำกัด ขนาดตัวอย่างคอนกรีตบล๊อคที่ใช้ในการทดสอบความหนาแน่นเชิงปริมาตร ความต้านแรงอัด และอัตราการดูดซึมน้ำมีขนาด 50x50x50 ลูกบาศก์มิลลิเมตร ขณะที่ขนาดตัวอย่างคอนกรีตบล๊อคที่ใช้ในการทดสอบอัตราการเปลี่ยนแปลงความยาวมีขนาด 20x60x10 ลูกบาศก์เซนติเมตร ตัวแปรที่ใช้ในการศึกษานี้คือ ปริมาณขี้เถ้าที่ใช้ในการแทนที่ในซีเมนต์ในสัดส่วนร้อยละ 0 10 20 และ 30 และความหนาแน่นของคอนกรีตบล๊อคที่ผลิตขึ้นมี 3 ระดับคือ 600,700 และ 800 กิโลกรัม/ลูกบาศก์เมตร ผลการวิจัยพบว่า (1) ขี้เถ้าที่เกิดขึ้นจากกระบวนการผลิตซิงด์ออกไซค์บประมาณวันละ 1,000-1,200 กิโลกรัม มีสีค่อนไปทางสีเทาเข้มคล้ายสีของปูนซีเมนต์ปอร์ตแลนด์ประเภทที่ 1 และมีลักษณะเป็นอนุภาคของแข็ง เป็นผงละเอียด (2) สัดส่วนที่เหมาะสมในการใช้ขี้เถ้าแทนที่ปูนซีเมนต์ คือ คอนกรีตบล๊อคที่มีความหนาแน่น 700 และ 800 กิโลกรัม/ลูกบาศก์เมตรซึ่งมีการแทนที่ปูนซีเมนต์ปอร์ตแลนด์ด้วยขี้เถ้าร้อยละ 10 เมื่อนำมาเทียบกับมาตรฐานผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรมชิ้นส่วนคอนกรีตมวลเบาแบบมีฟองอากาศ-อบไอน้ำมอก.1505-2541 พบว่าอยู่ในเกณฑ์มาตรฐานที่กำหนด (3) เมื่อเปรียบเทียบต้นทุนการผลิตคอนกรีตบล๊อคนี้กับคอนกรีตบล๊อคที่ผ่านเกณฑ์มาตรฐานตาม มอก.1505-2541 และจำหน่ายในท้องตลาดโดยทั่วไป พบว่า มีต้นทุนการผลิตที่ต่ำกว่าคอนกรีตบล๊อกตามท้องตลาดดังกล่าว | th_TH |
dc.format | application/pdf | en_US |
dc.language.iso | th | th_TH |
dc.publisher | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช | th_TH |
dc.relation.uri | https://www.doi.org/10.14457/STOU.the.2009.225 | - |
dc.rights | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช | th_TH |
dc.rights | Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0) | en_US |
dc.rights.uri | https://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/ | en_US |
dc.source | Born digital | en_US |
dc.subject | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาวิทยาศาสตร์สุขภาพ--วิทยานิพนธ์ | th_TH |
dc.subject | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. แขนงวิชาสาธารณสุขศาสตร์--วิทยานิพนธ์ | th_TH |
dc.subject | การใช้ของเสียให้เป็นประโยชน์ | th_TH |
dc.subject | ของเสียจากโรงงาน--การใช้ประโยชน์ | th_TH |
dc.title | การใช้ของเสียจากอุตสาหกรรมซิงค์ออกไซด์เป็นวัตถุดิบในการผลิตคอนกรีตบล๊อค | th_TH |
dc.title.alternative | Utilization of waste from zinc oxide industry as raw material for block concrete production | th_TH |
dc.type | Thesis | th_TH |
dc.identifier.DOI | 10.14457/STOU.the.2009.225 | - |
dc.degree.name | สาธารณสุขศาสตรมหาบัณฑิต | th_TH |
dc.degree.level | ปริญญาโท | th_TH |
dc.degree.discipline | สาขาวิชาวิทยาศาสตร์สุขภาพ | th_TH |
dc.degree.grantor | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช | th_TH |
dc.description.abstractalternative | The purposes of this research were to: (1) study amount and type of waste ash from zinc oxide (ZnO) production process; (2) study the optimal proportion or the waste ash replacing cement as the mixing proportion of concrete block production; and (3) find the cost of using the waste ash as the mixing proportion of concrete block production. This experimental research was conducted by replacing the waste ash for cement in concrete block production process. The waste ash used in this project was from the Met Oxide Factory (Thailand) Company., Limited. The sample size of concrete block used in testing of volume density, pressure resistant and absorption rate of water was 50x50x50 mm 3 whereas the sample size used in testing of changing rate of length was 20x60x10 cm3. The studied variables were amount of the waste ash replacing cement from 0%, 10%, 20% to 30% Moreover, 3 levels of concrete density including 600, 700 and 800 kg/m3 were produced. The results from this research were found that (1) the waste ash from zinc oxide production was about 1,000-12,000 kg/day. It had dark grey color like portland cement type 1 and was solid particles of tiny powder; (2) the optimal proportion of the waste ash replacing cement as the concrete block with density of 700 and 800 kg/m3 was 10%. When comparing with the Industrial Standard of the Autoclaved Aerated Light Weight Concrete Elements 1505-2541, the produced concrete blocks were under the Standard; and (3) when comparing the unit cost of the produced concrete block with other concrete blocks under the Standard in general market, this concrete block had lower unit cost | en_US |
dc.contributor.coadvisor | ปีติ พูนไชยศรี | th_TH |
Appears in Collections: | Health-Theses |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
118760.pdf | เอกสารฉบับเต็ม | 4.64 MB | Adobe PDF | View/Open |
This item is licensed under a Creative Commons License