Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/6765
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorธวัชชัย สุวรรณพานิช, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.authorเชิดชาย สิงห์พรหม, 2511-th_TH
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชานิติศาสตร์th_TH
dc.date.accessioned2023-06-27T07:14:42Z-
dc.date.available2023-06-27T07:14:42Z-
dc.date.issued2555-
dc.identifier.urihttps://ir.stou.ac.th/handle/123456789/6765en_US
dc.description.abstractการศึกษาค้นคว้าอิสระเรื่องนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาปัญหาการบังคับใช้ของการไกล่เกลี่ยคดีอาญาและพิจารณาหาหลักเกณฑ์และวิธีการที่เหมาะสมเพื่อให้การบังคับใช้ตาม พระราชบัญญัติระเบียบบริหารราชการแผ่นดิน พ.ศ.2534 มีประสิทธิภาพมากยิ่งขึ้น การศึกษาค้นคว้าอิสระฉบับนี้เป็นการวิจัยเชิงคุณภาพ (Qualitative Research) โดย การวิจัยทางเอกสาร (Documentary Research) ข้อมูลแบบเอกสารจากพระราชบัญญัติระเบียบบริหารราชการแผ่นดิน พ.ศ. 2534 แก้ไขเพิ่มเดิม (ฉบับที่ 7) พ.ศ.2550 กฎกระทรวงว่าด้วยการไกล่เกลี่ยความผิดที่มีโทษทางอาญา พ.ศ.2553 บทความ วิทยานิพนธ์ รวมถึงข้อมูลทางอิเลคทรอนิกส์ เพื่อนำข้อมูลต่างๆ มาเรียบเรียง ศึกษาวิเคราะห์ หาข้อสรุปและข้อเสนอแนะในแนวทางแก้ไขปัญหาที่เกิดขึ้น ผลการศึกษาพบว่าปัญหาการบังคับใช้การไกล่เกลี่ยคดีอาญาตามพระราชบัญญัติ ระเบียบบริหารราชการแผ่นดิน พ.ศ. 2534 ประการแรกเขตอำนาจในการไกล่เกลี่ย ปัจจุบันกำหนดให้เมื่อความผิดเกิดขึ้นในเขตอำเภอใดให้นายอำเภอหรือปลัดอำเภอในเขตอำเภอนั้นเป็น ผู้ไกล่เกลี่ยแต่ปัญหาอาจเกิดกรณีความผิดต่อเนื่องในหลายอำเภอ จะให้นายอำเภอหรือปลัดอำเภอ ในเขตอำเภอใดเป็นผู้ไกล่เกลี่ย ประการที่สอง คุณสมบัติของผู้ไกล่เกลี่ย ปัจจุบันไม่ได้กำหนดผู้ไกล่เกลี่ยต้องผ่านการอบรมการไกล่เกลี่ยหรือกำหนดให้ผู้ไกล่เกลี่ยต้องมีความเป็นกลางหรือไม่เป็นผู้มีส่วนได้ส่วนเสียในเรื่องที่ตนไกล่เกลี่ย ประการที่สาม กระบวนการในการไกล่เกลี่ย ปัจจุบันการเปิดเผยข้อเท็จจริงที่ได้มาจากการไกล่เกลี่ยจะห้ามเฉพาะนายอำเภอและปลัดอำเภอเท่านั้น แต่ในทางปฏิบัติอาจมีผู้อื่นเข้ามาเกี่ยวข้อง เช่น ผู้มาให้ข้อเท็จจริง หรือเจ้าหน้าที่ที่ทำหน้าที่กรอกเอกสารหรือทำหน้าที่ธุรการ ซึ่งผู้เกี่ยวข้องดังกล่าวไม่ได้ห้ามและประการสุดท้าย ค่าตอบแทนและค่าใช้จ่าย ในการเดินทางของผู้ไกล่เกลี่ย ปัจจุบันไม่ได้กำหนดไว้th_TH
dc.formatapplication/pdfen_US
dc.language.isootheren_US
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)en_US
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rights.urihttps://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/en_US
dc.sourceBorn digitalen_US
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชานิติศาสตร์ --การศึกษาเฉพาะกรณี.th_TH
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. วิชาเอกกฎหมายอาญาและกระบวนการยุติธรรม --การศึกษาเฉพาะกรณี.th_TH
dc.subjectการไกล่เกลี่ยth_TH
dc.titleปัญหาการบังคับใช้การไกล่เกลี่ยคดีอาญาตามพระราชบัญญัติระเบียบบริหารราชการแผ่นดิน พ.ศ. 2534th_TH
dc.title.alternativeProblems enforcing mediation with a criminal offense of public administration act 2534 / Problems enforcing mediation with a criminal offense of public administration act 2534en_US
dc.typeThesisen_US
dc.degree.nameนิติศาสตรมหาบัณฑิตth_TH
dc.degree.levelปริญญาโทth_TH
dc.degree.disciplineสาขาวิชานิติศาสตร์th_TH
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.description.abstractalternativeThe Objectives of this independent study are as follow; to study the enforcement of mediation process in criminal cases and consider the appropriate approach to enforce Public Administration Act BE 2534 more effectively. This independent study is a qualitative study by documentary research from Public Administration Act BE 2534 (amended no. 7) BE 2550, Ministerial regulations on mediation in offence with criminal penalty BE 2553, articles, textbooks, books, data in electronic media in order to analyze and synthesize so as to acquire the guideline to resolve any problem which may occur. The result found that the difficulties in application of criminal mediation according to Public Administration Act BE 2534 are as follow; First: Mediation Jurisdiction, as Public Administration Act BE 2534, Chief District Officer or Assistant Chief District Officer are assigned to be mediators in any offence which occurred in their jurisdiction. However, in continuous offences, which Chief District Officer or Assistant Chief District Officer will have the authority to be mediator. Second: Qualification of Mediator, due to training in mediation or no conflict of interest was not compulsory for mediator. Third: Confidential in Mediation process, only Chief District Officer or Assistant Chief District Officer is prohibited to disclose any facts arose in mediation process. Nevertheless, in practical, there are many parties involve in mediation process such as witnesses or administrative officers which may affect to Confidential in Mediation process. Finally: remuneration or travel expense for mediator does not clearly define in law.en_US
Appears in Collections:Law-Independent study

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Fulltext_134092.pdfเอกสารฉบับเต็ม17.44 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons