Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/6767
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorรังสรรค์ ประเสริฐศรี, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.advisorสมศักดิ์ สามัคคีธรรม, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.authorอัจฉรา เชื้อแก้ว-
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สำนักบัณฑิตศึกษาth_TH
dc.date.accessioned2023-06-27T07:22:02Z-
dc.date.available2023-06-27T07:22:02Z-
dc.date.issued2551-
dc.identifier.urihttps://ir.stou.ac.th/handle/123456789/6767-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (บธ.ม. (บริหารรัฐกิจ))--มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช, 2551th_TH
dc.description.abstractการวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) ศึกษาระดับคุณภาพชีวิตการทำงานของพนักงานศูนย์ ควบคุมการบินเชียงใหม่ บริษัทวิทยุการบินแห่งประเทศไทย จำกัด และ (2) ศึกษาปัจจัยทึ่มีความสัมพันธ์ กับระดับคุณภาพชีวิตในการทำงานของพนักงานศูนย์ควบคุมการบินเชียงใหม่ บริษัทวิทยุการบินแห่ง ประเทศไทย จำกัด โดยผู้วิจัยได้นำกรอบความคิดเกี่ยวกับคุณภาพชีวิตในการทำงานของ Richard E.Walton ซึ่งมีตัวชี้วัด 8 ตัวได้แก่ การได้รับค่าตอบแทนในการทำงานที่เพียงพอและยุติธรรม สภาพการ ทำงานที่คำนึงถึงความปลอดภัยและส่งเสริมสุขภาพ ความมั่นคงและก้าวหน้าในงาน โอกาสในการ พัฒนาความสามารถของบุคคล การบูรณาการทางสังคมหรือการทำงานร่วมกัน ประชาธิปไตยในองค์การ ความสมดุลระหว่างงานกับชีวิตส่วนตัว และลักษณะงานที่เป็นประโยชน์แก่สังคมมาประยุกต์ใช้ใน การศึกษาครั้งนี้ การวิจัยครั้งนี้เป็นการวิจัยเชิงสำรวจ โดยใช้แบบสอบถามทึ่ได้ผ่านการทดสอบทั้งความ เที่ยงตรงและความเชื่อถือได้ของแบบสอบถามแลัว หลังจากนั้นได้เก็บรวบรวมข้อมูลจากประชากร ทั้งหมด คือ พนักงานศูนย์ควบคุมการบินเชียงใหม่ บริษัทวิทยุการบินแห่งประเทศไทย จำกัด จำนวน ทั้งสิ้น 140 คน สถิติที่นำมาใชในการวิเคราะห์ข้อมูลได้แก่ ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย ค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน การทดสอบค่าที และการทดสอบค่าเอฟ่ ผลการวิจัยพบว่า (1) ระดับคุณภาพชีวิตการทำงานของพนักงานศูนย์ควบคุมการบิน เชียงใหม่ บริษัทวิทยุการบินแห่งประเทศไทย จำกัด ในภาพรวมอยู่ในระดับปานกลาง โดยผู้ตอบ แบบสอบถามทั้งหมดแสดงความเห็นว่า ความสมดุลระหว่างงานกับชีวิตส่วนตัว ลักษณะงานที่เป็น ประโยชนแก่สังคมและประชาธิปไตยในองค์การมีผลต่อคุณภาพชีวิตการทำงานของพนักงานศูนย์ควบคุม การบินเชียงใหม่เรียงตามลำดับ และ (2) ปัจจัยที่มีความสัมพันธ์กับระดับคุณภาพชีวิตการทำงานของ พนักงานศูนย์ควบคุมการบินเชียงใหม่ บริษัทวิทยุการบินแห่งประเทศไทย จำกัด ได้แก่ ปัจจัยด้านรายได้ ตำแหน่งงาน ระยะเวลาในการเดินทางไปปฏิบัติงานและชั่วโมงในการพักผ่อน โดยปัจจัยด้านชั่วโมงใน การพักผ่อนเป็นปัจจัยที่มีความสัมพันธ์กับระดับคุณภาพชีวิตการทำงานของพนักงานศูนย์ควบคุมการบิน เชียงใหม่มากที่สุดth_TH
dc.formatapplication/pdfen_US
dc.language.isothth_TH
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.relation.urihttps://www.doi.org/10.14457/STOU.the.2008.217-
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)en_US
dc.rights.urihttps://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/en_US
dc.sourceBorn digitalen_US
dc.subjectคุณภาพชีวิตการทำงานth_TH
dc.titleคุณภาพชีวิตการทำงานของพนักงานศูนย์ควบคุมการบินเชียงใหม่บริษัทวิทยุการบินแห่งประเทศไทย จำกัดth_TH
dc.title.alternativeThe quality of work life of officers of Chiang Mai Air Traffic Control Centers Aeronautical Radio of Thailand Ltd.th_TH
dc.typeThesisth_TH
dc.identifier.DOI10.14457/STOU.the.2008.217-
dc.degree.nameรัฐประศาสนศาสตรมหาบัณฑิตth_TH
dc.degree.levelปริญญาโทth_TH
dc.degree.disciplineสาขาวิชาวิทยาการจัดการth_TH
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.description.abstractalternativeThe purposes of this research were : (1) to study the level of the quality of work life of officers of Chiang Mai Air Traffic Control Centers Aeronautical Radio of Thailand Ltd., and (2) to study factors related to the quality of work life of officers of Chiang Mai Air Traffic Control Centers Aeronautical Radio of Thailand Ltd. (C-ATC). Richard E. Wal ton’s conceptual framework, i. e. adequate and fair compensation, safe and healthy environment, development of human capacities, growth and security, social integration, constitutionalism, the total life space and social relevance are implied in this study. This study was based on a survey research by using questionnaires which had been pretested and checked for reliability and validity. The sample group in this study was the total population of 140 persons from the Officers of Chiang Mai Air Traffic Control Centers Aeronautical Radio of Thailand Ltd.. The statistical methods used in this study were percentage, mean , standard deviation, t-test and F-test. The research found that: (1) the level of the quality of work life of officers of Chiang Mai Air Traffic Control Centers Aeronautical Radio of Thailand Ltd. was at the middle level. All of the answers from the questionnaires agree that the total life space, social relevance and constitutionalism have effected to the quality of work life of officers of Chiang Mai Air Traffic Control Centers Aeronautical Radio of Thailand Ltd. are respectively and (2) factors related to the quality of work life of the C-ATC’s officers were income, ranking position, periods of working and hours of resting. The hours of resting factor is the most related factor to the quality of work life of the officers of Chiang Mai Air Traffic Control Centers’ officersen_US
Appears in Collections:Manage-Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
112193.pdfเอกสารฉบับเต็ม4.32 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons