Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/6795
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorเสน่ห์ จุ้ยโต, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.advisorชินรัตน์ สมสืบ, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.authorกฤษณสรรค์ สุขสาร, 2514--
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สำนักบัณฑิตศึกษาth_TH
dc.date.accessioned2023-06-28T03:02:04Z-
dc.date.available2023-06-28T03:02:04Z-
dc.date.issued2555-
dc.identifier.urihttps://ir.stou.ac.th/handle/123456789/6795-
dc.description.abstractการวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) ศึกษาการดำเนินงานการพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ ของกรมสรรพากร (2) ศึกษาเปรียบเทียบความคิดเห็นต่อการดำเนินงานการพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ ของกรมสรรพากรจำแนกตามปัจจัยส่วนบุคคล (3) ศึกษาแนวทางการพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ของ กรมสรรพากร ประชากรที่ใช้ในการวิจัย คือ บุคลากรของกรมสรรพากร ได้แก่ ข้าราชการตาม พ.ร.บ.ข้าราชาการพลเรือน พ.ศ. 2551 และเจ้าหน้าที่ในหน่วยงานพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ของ กรมสรรพากร จำนวน 20,050 คน กลุ่มตัวอย่าง จำนวน 392 คน ได้จากการสุ่มตัวอย่างแบบง่าย เก็บข้อมูลโดยใช้แบบสอบถาม สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ ความถี่ ร้อยละ ค่าเฉลี่ย ค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน การทดสอบค่าที และวิเคราะห์ความแปรปรวน ผลการวิจัยพบว่า (1) การดำเนินงานการพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ของกรมสรรพากร โดยภาพรวมมีอยู่ในระดับน้อย เมื่อพิจารณาเป็นรายด้าน พบว่า ด้านการฝึกอบรมมีอยู่ในระดับ ปานกลาง ด้านการจัดการความรู้และด้านการศึกษามีอยู่ในระดับน้อย (2) ปัจจัยส่วนบุคคล ได้แก่ บุคลากรมีระดับตำแหน่งและระยะเวลาปฏิบัติราชการในกรมสรรพากรต่างกัน มีความคิดเห็นต่อการ ดำเนินงานการพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ทุกด้านแตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 (3) แนวทางการพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ของกรมสรรพากรมี 3 ประการ ได้แก่ ควรจัดให้มีการ ฝึกอบรมเกี่ยวกับระบบการปฏิบัติงานต่างๆ ขององค์การอย่างทั่วถึงในทุกหน่วยงาน ควรจัดให้มีการ ส่งเสริมด้านทุนการศึกษาตามความต้องการของบุคลากร และควรจัดสรรงบประมาณเกี่ยวกับ เทคโนโลยีสารสนเทศอย่างเพียงพอเพื่อการสืบค้นข้อมูลการปฏิบัติงานth_TH
dc.formatapplication/pdfen_US
dc.language.isothth_TH
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.relation.urihttps://www.doi.org/10.14457/STOU.the.2012.379en_US
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)en_US
dc.rights.urihttps://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/en_US
dc.sourceBorn digitalen_US
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. แขนงวิชาบริหารรัฐกิจ -- วิทยานิพนธ์th_TH
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาวิทยาการจัดการ -- วิทยานิพนธ์th_TH
dc.subjectการพัฒนาทรัพยากรมนุษย์th_TH
dc.titleความคิดเห็นของบุคลากรต่อการพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ของกรมสรรพากรth_TH
dc.title.alternativePersonals opinion on the human resource development of Revenue Departmentth_TH
dc.typeThesisth_TH
dc.degree.nameบริหารธุรกิจมหาบัณฑิตth_TH
dc.degree.levelปริญญาโทth_TH
dc.degree.disciplineสาขาวิชาวิทยาการจัดการth_TH
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.description.abstractalternativeThe purposes of this research were 1) to study the performance of human resource development of Revenue Department, 2) compare the opinions on the performance of human resource development by personal factors, 3) study appropriate approach to improve the performance of human resource development of Revenue Department. Population consisted of the Department personnel including government officers from Civil Service Act adopted in 2551 B.E. (or 2008) and staff in human resource development section, totally 20,050, from which 392 samples were obtained. Simple random sampling method was applied. Questionnaire was used to collect data required. Statistical tools employed were frequency, percentage, mean, standard deviation, t-test, and One-way Analysis of Variance. Research result revealed that 1) the overall human resource development performance of Revenue Department was at low level, when considered each aspect, it was found that: performance on training was at medium level, while performances on knowledge management and education were at low level 2) personnel with different personal factors had different opinions with 0.05 level of statistically significance 3) three approaches should be applied to improve the performance of human resource development of Revenue Department: there should be more trainings regarding the operational systems of all sections in the Department, the scholarship should be provided as necessary, sufficient budget should be allocated on information technology so to have information inventory available at all timesen_US
Appears in Collections:Manage-Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
130827.pdfเอกสารฉบับเต็ม2.27 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons