Please use this identifier to cite or link to this item:
https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/6798
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.advisor | ชินรัตน์ สมสืบ | th_TH |
dc.contributor.author | สรศักดิ์ พวงทับทิม, 2507- | th_TH |
dc.contributor.other | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สำนักบัณฑิตศึกษา | th_TH |
dc.date.accessioned | 2023-06-28T03:16:00Z | - |
dc.date.available | 2023-06-28T03:16:00Z | - |
dc.date.issued | 2555 | - |
dc.identifier.uri | https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/6798 | en_US |
dc.description | วิทยานิพนธ์ (บธ.ม. (บริหารธุรกิจ))--มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช, 2554 | th_TH |
dc.description.abstract | การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) วัดระดับความสำเร็จของการนำนโยบายพัฒนาสังคมขององค์การบริหารส่วนตำบลในจังหวัดปทุมธานี ไปปฏิบัติ (2) ศึกษาปัจจัยที่มีผลต่อความสำเร็จของการนำนโยบายพัฒนาสังคมขององค์การบริหารส่วนตำบลไปปฏิบัติ : กรณีศึกษาองค์การบริหารส่วนตำบลในจังหวัดปทุมธานี (3) เสนอแนวทางการแก้ไขปัญหาของการนำนโยบายพัฒนาสังคมขององค์การบริหารส่วนตำบลในจังหวัดปทุมธานี ไปปฏิบัติ ประชากรในการวิจัยครั้งนี้ คือ คณะผู้บริหารและพนักงานทุกระดับขององค์การบริหารส่วนตำบลในจังหวัดปทุมธานี จำนวน 3,449 คน กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการวิจัย จำนวน 344 คน โดยกำหนดขนาดตัวอย่างด้วยวิธีการสุ่มแบบชั้นภูมิอย่างเป็นสัดส่วน (Proportional stratified sampling) เป็นวิธีการสุ่มที่จะต้องกำหนดจำนวนหน่วยตัวอย่างให้ได้สัดส่วน (Proportion) ตามจำนวนประชากร และเป็นการกำหนดขนาดของกลุ่มตัวอย่างที่ให้แปรผันตามขนาดของประชากร และเป็นการกำหนดอัตราส่วนของ กลุ่มตัวอย่างที่จะถูกเลือกในแต่ละชั้นภูมิ คือร้อยละ 10 % ของประชากรแต่ละชั้นภูมิ เก็บข้อมูลโดยใช้แบบสอบถาม สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย ค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน และการทดสอบค่าที ค่าความแปรปรวนทางเดียวและค่าสัมประสิทธ์ิสหสัมพันธ์ของเพียร์สัน ผลการวิจัยพบว่า (1) ระดับความสำเร็จในการนำนโยบายพัฒนาสังคมขององค์การบริหารส่วนตำบลไปปฏิบัติโดยภาพรวมอยู่ในระดับมาก ยุทธศาสตร์ที่ 1 ถึง 8 อยู่ในระดับมาก (2) ปัจจัยด้านโครงสร้าง บุคลากร งบประมาณ สถานที่ วัสดุอุปกรณ์ เครื่องมือและเครื่องใช้ มีความสัมพันธ์อย่างมากต่อความสำเร็จของการนำนโยบายพัฒนาสังคมขององค์การบริหารส่วนตำบลไปปฏิบัติ (3) แนวทางการแก้ไขปัญหาการนำนโยบายพัฒนาสังคมขององค์การบริหารส่วนตำบลไปปฏิบัติ มี 3 ประการได้แก่ ควรสร้างวัฒนธรรมค่านิยมใหม่ในการทำงานมุ่งผลสัมฤทธิ์ ควรพัฒนาผู้บริหารองค์การบริหารส่วนตำบลให้ความสำคัญต่อการพัฒนา และควรนำระบบบริหารกิจการบ้านเมืองและสังคมที่ดีมาใช้ในการพัฒนาสังคม | th_TH |
dc.format | application/pdf | en_US |
dc.language.iso | th | en_US |
dc.publisher | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช | th_TH |
dc.relation.uri | https://www.doi.org/10.14457/STOU.the.2012.287 | en_US |
dc.rights | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช | th_TH |
dc.rights | Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0) | en_US |
dc.rights.uri | https://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/ | en_US |
dc.source | Born digital | en_US |
dc.subject | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. แขนงวิชาบริหารรัฐกิจ--วิทยานิพนธ์ | th_TH |
dc.subject | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาวิทยาการจัดการ--วิทยานิพนธ์ | th_TH |
dc.subject | การนำนโยบายไปปฏิบัติ | th_TH |
dc.subject | องค์การบริหารส่วนตำบล | th_TH |
dc.title | การนำนโยบายพัฒนาสังคมขององค์การบริหารส่วนตำบลไปปฏิบัติ : กรณีศึกษาองค์การบริหารส่วนตำบล ในจังหวัดปทุมธานี | th_TH |
dc.title.alternative | Social development policy implementation of sub-district administrative organizations : a case study of Sub-district Administrative Organizations in Pathum Thani Province | en_US |
dc.type | Thesis | en_US |
dc.degree.name | บริหารธุรกิจมหาบัณฑิต | th_TH |
dc.degree.level | ปริญญาโท | th_TH |
dc.degree.discipline | สาขาวิชาวิทยาการจัดการ | th_TH |
dc.degree.grantor | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช | th_TH |
dc.description.abstractalternative | The objectives of this research were to (1) study the success level of Social Development policy implementation in sub-district administrative organizations in Pathum Thani province (2) study factors affecting Social Development policy implementation of sub-district administrative organizations in Pathum Thani province (3) recommend appropriate solutions to implement Social Development policy in sub-district administrative organizations in Pathum Thani province. Population in this research consisted of the management and staff at all levels of Subdistrict administrative organizations in PathumThani province, totally 3,449 from which 344 samples were obtained. Proportional stratified random sampling was applied so to have the sample size the varied according to population size, in this case, samples comprised 10 percent of each stratification. Instrument used was questionnaire. Statistical tools employed were percentage, mean, standard deviation, t-test, One-way ANOVA analysis, and Pearson correlation coefficient. The study found that (1) the success level of Social Development policy implementation in sub-district administrative organizations in Pathum Thani province was high with high level in Strategy 1 to 8 (2) structural factor together with personnel, budget, facilities, materials, tools and equipment factors correlated significantly to the success of Social Development policy implementation of sub-district administrative organizations (3) three solutions were recommended : the organizations should initiate new cultural value concerning result based operation, the executives should be more aware of the importance of development, and Good Governance principles should be applied in the development of the societies. | en_US |
dc.contributor.coadvisor | เสน่ห์ จุ้ยโต | th_TH |
Appears in Collections: | Manage-Theses |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
130835.pdf | เอกสารฉบับเต็ม | 3.62 MB | Adobe PDF | View/Open |
This item is licensed under a Creative Commons License