Please use this identifier to cite or link to this item:
https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/6800
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.advisor | ยุทธนา ธรรมเจริญ | th_TH |
dc.contributor.advisor | ศิริชัย พงษ์วิชัย | th_TH |
dc.contributor.author | กันยาพร ปิยะพิเชษฐกุล | th_TH |
dc.contributor.other | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สำนักบัณฑิตศึกษา | th_TH |
dc.date.accessioned | 2023-06-28T03:20:01Z | - |
dc.date.available | 2023-06-28T03:20:01Z | - |
dc.date.issued | 2551 | - |
dc.identifier.uri | https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/6800 | en_US |
dc.description | วิทยานิพนธ์ (บธ.ม. (บริหารธุรกิจ))--มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช, 2551 | th_TH |
dc.description.abstract | การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) ศึกษาพฤติกรรมและความคิดเห็นของผู้บริโภคที่ มีต่อร้านค้าปลีกดั้งเดิมและร้านค้าปลีกสมัยใหม่ (2) ศึกษาการรับรู้และความคิดเห็นของผู้บริโภค เกี่ยวกับข้อตกลงว่าด้วยความร่วมมือในการกำกับลูแลประกอบธุรกิจค้าปลีกค้าส่ง (3) เปรียบเทียบพฤติกรรมและระดับความคิดเห็นของผู้บริโภคที่มีต่อร้านค้าปลีกดั้งเดิมกับร้านค้าปลีกสมัยใหม่จำแนกตามคุณลักษณะส่วนบุคคล (4) เปรียบเทียบการรับรู้และระดับความคิดเห็นของผู้บริโภคที่มีต่อการแข่งขันที่เป็นธรรมของธุรกิจค้าปลีก จำแนกตามคุณลักษณะส่วนบุคคลการวิจัยเป็นการวิชัยเชิงพรรณนา กลุ่มตัวอย่างที่ใชัในการสำรวจคือ ผู้บริโภคร้านค้าปลีกในเขตกรุงเทพมหานคร โดยใช้ตารางสำเร็จรูปของทาโรยามาเน่ในการหาจำนวนกลุ่มตัวอย่างได้จำนวน 400 คนเครื่องมือที่ใช้ในเก็บข้อมูลคือแบบสอบถาม สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูลคือค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย ค่าส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน ไคสแควร์ การทดสอบที และการวิเคราะห์ความแปรปรวน ผลวิจัยพบว่า (1) กลุ่มตัวอย่างส่วนใหญ่จะเลือกใช้บริการบ่อยครั้งกว่ากับจำนวนเงินที่สูงกว่าในการซื้อสินค้าจากร้านค้าปลีกสมัยใหม่ และส่วนใหญ่มีความเห็นว่าร้านค้าปลีกดั้งเดิมมีความสะดวกในการเดินทางมากกว่าร้านค้าปลีกสมัยใหม่ ส่วนร้านค้าปลีกสมัยใหม่จะมีความหลากหลายของสินค้ามากกว่า (2) กลุ่มตัวอย่างส่วนใหญ่จะไม่ทราบถึงข้อตกลงว่าด้วยความร่วมมือในการกำกับดูแลประกอบธุรกิจค้าปลีกค้าส่ง แต่เห็นด้วยในข้อตกลงนี้โดยเฉพาะเรื่องที่ไม่กำหนดเวลาเปิด-ปิดของร้านสะดวกซื้อมากที่สุด (3) ลักษณะส่วนบุคคลที่ต่างกันมีความแตกต่างในพฤติกรรมที่มีต่อร้านค้าปลีกดั้งเติมและร้านค้าปลีกสมัยใหม่ ยกเว้น เพศ อาชีพ พี้นที่อยู่อาศัย และ ความคิดเห็นที่มีต่อส่วนประสมการตลาดของร้านค้าปลีกดั้งเดิมไม่มีความแตกต่างกัน ยกเว้นอาชีพส่วนร้านค้าปลีกสมัยใหม่ ลักษณะส่วนบุคคลที่ต่างกันมีความคิดเห็นแตกต่างกันยกเว้น เพศ และพี้นที่อยู่อาศัย (4) ลักษณะส่วนบุคคลที่ต่างกันจะไม่แตกต่างกันในการรับรู้ และความคิดเห็นที่มีต่อการแข่งขันที่เป็นธรรมของธุรกิจค้าปลีก | th_TH |
dc.format | application/pdf | en_US |
dc.language.iso | th | en_US |
dc.publisher | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช | th_TH |
dc.relation.uri | https://www.doi.org/10.14457/STOU.the.2008.98 | en_US |
dc.rights | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช | th_TH |
dc.rights | Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0) | en_US |
dc.rights.uri | https://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/ | en_US |
dc.source | Born digital | en_US |
dc.subject | การค้าปลีก--ไทย | th_TH |
dc.subject | การแข่งขันทางการค้า | th_TH |
dc.subject | ผู้บริโภค--ทัศนคติ | th_TH |
dc.subject | ผู้บริโภค--ไทย--กรุงเทพฯ | th_TH |
dc.title | การแข่งขันที่เป็นธรรมของธุรกิจค้าปลีกตามการรับรู้ของผู้บริโภคในเขตกรุงเทพมหานคร | th_TH |
dc.title.alternative | Fair competition of retail businesses according to the consumer perception in Bangkok Metropolis | th_TH |
dc.type | Thesis | th_TH |
dc.identifier.DOI | 10.14457/STOU.the.2008.98 | - |
dc.identifier.url | https://www.doi.org/10.14457/STOU.the.2008.98 | en_US |
dc.degree.name | บริหารธุรกิจมหาบัณฑิต | th_TH |
dc.degree.level | ปริญญาโท | th_TH |
dc.degree.discipline | สาขาวิชาวิทยาการจัดการ | th_TH |
dc.degree.grantor | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช | th_TH |
dc.description.abstractalternative | The objectives of this research were to; 1) study Consumers’ behavior and opinion towards traditional trade and modem trade; 2) study Consumers’ perception and opinion regarding to cooperation to run retailing business; 3) compare Consumers’ behavior and opinion level towards traditional trade with modem trade that was classified by personal characteristic; and 4) compare Consumers’ perception and opinion level towards the fair competition of retailing business that was classified by personal characteristic. This study was descriptive research. The sample size of this research was based on 400 consumers who used service of retail stores in Bangkok Metropolis based on table of Taro Yamane. Data were collected through questionnaire. The statistics for analysis was percent, mean, standard deviation, Chi-square, t-test and one-way ANOVA. The findings of the research were that; 1) most of the samples had more often used service and spent high expense to buy product from modem trade with reason of more various of products. Most of them thought that traditional trade was more convenient for transportation than modem trade; 2) most of the samples did not know in details of agreement of cooperation to control the Retailing Business; whereas most of them complied with the agreement in terms of non-limitation to opening/closing-time of convenient store; 3) the samples with different personal characteristic had significantly different behaviors towards traditional trade and modem trade; except sex, occupation, residential area. The opinions towards marketing mix composition of traditional trade, except occupation were not significantly different whereas the samples with different characteristic, except sex and residential area were found that their opinion were significant difference; and 4) the samples with different personal characteristic were found that perception and opinion towards fair competition of retailing business were not significant different. | en_US |
dc.contributor.coadvisor | อดิลล่า พงศ์ยี่หล้า | th_TH |
Appears in Collections: | Manage-Theses |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
112203.pdf | เอกสารฉบับเต็ม | 8.09 MB | Adobe PDF | View/Open |
This item is licensed under a Creative Commons License