Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/6806
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorรชพร จันทร์สว่าง, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.authorพิริยะ อธิสุข, 2524--
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาวิทยาการจัดการth_TH
dc.date.accessioned2023-06-28T03:38:03Z-
dc.date.available2023-06-28T03:38:03Z-
dc.date.issued2563-
dc.identifier.urihttps://ir.stou.ac.th/handle/123456789/6806-
dc.description.abstractการศึกษานี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เปรียบเทียบปัจจัยส่วนประสมทางการตลาดที่ส่งผลต่อการเลือกใช้บริการโรงพยาบาล จำแนกตามปัจจัยส่วนบุคคล (2) เปรียบเทียบการตัดสินใจใช้บริการโรงพยาบาล จำแนกตามปัจจัยส่วนบุคคล (3) ศึกษาปัจจัยส่วนประสมทางการตลาดที่มีผลต่อการการตัดสินใจใช้บริการโรงพยาบาลกรุงเทพสิริโรจน์ จังหวัดภูเก็ต ผลการศึกษาพบว่า ผู้ใช้บริการโรงพยาบาลกรุงเทพสิริโรจน์ ส่วนใหญ่เป็นเพศหญิง อายุ 31-41 ปีการศึกษาระดับปริญญาตรี อาชีพรับราชการรัฐวิสาหกิจ รายได้ต่อเดือน 15,000-30,000 บาท ปัจจุบันอาศัยอยู่ที่จังหวัดภูเก็ต สิทธิการรักษาพยาบาลชำระเงินเอง เป็นผู้ป่วยเก่า มาใช้บริการที่แผนกอายุรกรรม และมาใช้บริการด้วนตนเอง (1) ส่วนประสมทางการตลาดที่ส่งผลต่อการเลือกใช้บริการโรงพยาบาลภาพรวมระดับ 3.47 ปัจจัยที่มีอิทธิพลมากที่สุดคือสภาพแวดล้อมภายนอก รองลงมาคือ ผลิตภัณฑ์ บุคลากร กระบวนการให้บริการ ช่องทางใช้บริการ ราคา และการส่งเสริมการตลาด มีผลน้อยที่สุด กระบวนการการตัดสินใจใช้บริการโรงพยาบาลที่สาคัญมากที่สุดคือ พฤติกรรมหลังการใช้บริการสุขภาพ รองลงมาคือ ปัจจัยที่ใช้ในการเลือกสถานที่บริการสุขภาพการประเมินทางเลือก ความต้องการบริการในช่วง 1 ปีที่ผ่านมา และช่องทางการหาข้อมูลน้อยที่สุด (2) ส่วนประสมทางการตลาดจำแนกตามลักษณะข้อมูลส่วนบุคคลพบความแตกต่างอย่างมีนัยสาคัญทางสถิติในปัจจัยด้านราคาระหว่างอาชีพ (P=0.034) และสิทธิการรักษา (P=0.007) และระหว่างช่องทางการใช้บริการในปัจจัยการส่งเสริมการตลาด (P=0.034) ปัจจัยกระบวนการให้บริการ (P=0.041) และสภาพแวดล้อมภายนอก (P=0.000) การศึกษาการตัดสินใจใช้บริการจำแนกตามลักษณะข้อมูลส่วนบุคคลพบว่ามีความแตกต่างอย่างมีนัยสาคัญทางสถิติระหว่างอายุกับการตัดสินใจใช้บริการสถานพยาบาล (P=0.032) และความต้องการบริการสุขภาพ (P=0.015) ระหว่างแผนกที่เข้ามาใช้บริการกับความต้องการบริการสุขภาพ (P=0.008) และระหว่างช่องทางการใช้บริการกับการเลือกสถานที่บริการ (P=0.023) และ (3) ส่วนประสมทางการตลาดปัจจัยด้านผลิตภัณฑ์ ด้านการส่งเสริมการตลาด ด้านราคาด้านบุคลากร ร่วมกันอธิบายการตัดสินใจใช้บริการโรงพยาบาลกรุงเทพสิริโรจน์จังหวัดภูเก็ตได้ร้อยละ 40.4 อย่างมีนัยสาคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05th_TH
dc.formatapplication/pdfen_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)en_US
dc.rights.urihttps://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/-
dc.sourceBorn digitalen_US
dc.subjectการตลาด --การตัดสินใจth_TH
dc.subjectโรงพยาบาลเอกชนth_TH
dc.subjectการศึกษาอิสระ--บริหารธุรกิจth_TH
dc.titleปัจจัยส่วนประสมทางการตลาดที่มีผลต่อการตัดสินใจเลือกใช้บริการโรงพยาบาลกรุงเทพสิริโรจน์ จังหวัดภูเก็ตth_TH
dc.title.alternativeMarketing mix factors affecting the decision to use Bangkok Hospital Siriroj, Phuket Provinceen_US
dc.typeThesisen_US
dc.degree.nameบริหารธุรกิจมหาบัณฑิตth_TH
dc.degree.levelปริญญาโทth_TH
dc.degree.disciplineสาขาวิชาวิทยาการจัดการth_TH
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.description.abstractalternativeThe objectives of this research were: (1) to compare personal data characteristics and marketing mix factors in decision-making to use the hospital service (2) to compare personal data characteristics with decision-making to use the service at the hospital, and (3) to study the affecting of marketing mix factors affecting the decision to use the service of Bangkok Hospital Siriroj. This was a survey research. The sample population was 400 Thai customers of Bangkok Hospital Siriroj Phuket Thailand selected by systematic sampling method. Data were collected using a questionnaire and were statistically analyzed using free quency distribution table, percentage, mean, standard deviation, T-test, ANOVA, and multiple regression analysis. The results showed that (1) the majority of samples are female, aged between 31-40 years and live in Phuket. Their education background was bachelor’s degree. They worked as government and state enterprise officers with a monthly income 15,000-30,000 baht. They are existing selfpay patient mostly visit medicine unit by their selvers. (2) The most affecting marketing mix factor were physical evidence follow by product, people, process, place, price and promotion. (3) For decision making process, they mostly need for treatment service and seeking information from their family. They chooed choosing a private hospital because they believe in quality, treatment outcome and satisfaction after receiving the service (4) There was a statistically differentiation in price between occupation (P=0.034) and medical coverage (P=0.007), between access to care in promotion (P=0.034), process (P=0.041) and physical evidence (P=0.000). There was statistically differentiation between healthcare needs and age (P=0.032), service department (P=0.008), healthcare facility selection and access to care (P=0.023) (5) The marketing mix factors that have a statistically positive correlation (p<0.05) are product, promotion, price and people with coefficient of determination at 0.404.en_US
Appears in Collections:Manage-Independent study

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
FULLTEXT.pdfเอกสารฉบับเต็ม15.24 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons