Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/6807
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorโสภนา สุดสมบูรณ์, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.authorถนอมวรรณ ช่างทอง, 2526-th_TH
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาศึกษาศาสตร์th_TH
dc.date.accessioned2023-06-28T03:39:54Z-
dc.date.available2023-06-28T03:39:54Z-
dc.date.issued2562-
dc.identifier.urihttps://ir.stou.ac.th/handle/123456789/6807en_US
dc.description.abstractการวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษา (1) ระดับภาวะผู้นำเชิงนวัตกรรมของผู้บริหารสถานศึกษาในอำเภอท่าชนะ สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาสุราษฎร์ธานี เขต 2 (2) ระดับความเป็นองค์กรดิจิทัลของสถานศึกษา และ (3) ความสัมพันธ์ระหว่างภาวะผู้นำเชิงนวัตกรรมและความเป็นองค์กรดิจิทัลของสถานศึกษา กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการวิจัย คือ ครูผู้สอนในสถานศึกษาในอำเภอท่าชนะ สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาสุราษฎร์ธานี เขต 2 ปีการศึกษา 2562 จำนวน 203 คน ได้มาโดยการสุ่มอย่างง่าย เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย คือ แบบสอบถามเกี่ยวกับภาวะผู้นำเชิงนวัตกรรมของผู้บริหารสถานศึกษาและความเป็นองค์กรดิจิทัลของสถานศึกษามีค่าความเที่ยงเท่ากับ .98 และ .96 ตามลำคับ สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ ความถี่ ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และค่าสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์แบบเพียร์สัน ผลการวิจัยปรากฏว่า (1) ภาวะผู้นำเชิงนวัตกรรมของผู้บริหารสถานศึกษา โดยรวมและรายด้านอยู่ในระดับมาก โดยเรียงตามลำดับค่าเฉลี่ยจากสูงสุดไปต่าสุดได้ดังนี้ ด้านการทำงานเป็นทีมและการทางานร่วมกัน ด้านการให้กำลังใจแก่บุคลากรในองค์การ ด้านการกำหนดภาระงาน ด้านการจัดหาทรัพยากร ด้านการสนับสนุนและให้กำลังใจบุคลากร ด้านการขจัดอุปสรรคต่อการสร้างสรรค์นวัตกรรม ด้านการมีเสรีภาพ และด้านผลงานนวัตกรรมที่ท้าทาย (2) ความเป็นองค์กรดิจิทัลโดยรวมและรายด้านอยู่ในระดับมากโดยเรียงตามลำดับดังต่อไปนี้ ด้านวัฒนธรรมองค์กร ด้านบุคลากร ด้านโครงสร้างและกระบวนการทำงาน และด้านเทคโนโลยี และ (3) ภาวะผู้นำเชิงนวัตกรรมของผู้บริหารสถานศึกษา มีความสัมพันธ์ทางบวกกับความเป็นองค์กรดิจิทัลของสถานศึกษา ในภาพรวมอยูในระดับสูงอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .01 โดยมีค่าสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์ (r) เท่ากับ 0.85th_TH
dc.formatapplication/pdfen_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)en_US
dc.rights.urihttps://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/en_US
dc.sourceBorn digitalen_US
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. แขนงวิชาบริหารการศึกษา -- การศึกษาเฉพาะกรณีth_TH
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาศึกษาศาสตร์ -- การศึกษาเฉพาะกรณีth_TH
dc.subjectภาวะผู้นำทางการศึกษาth_TH
dc.subjectผู้บริหารโรงเรียนth_TH
dc.subjectเทคโนโลยีสารสนเทศ -- การศึกษาและการสอน (ประถมศึกษา) -- ไทย -- นนทบุรีth_TH
dc.subjectเทคโนโลยีสารสนเทศ -- การจัดการth_TH
dc.subjectการศึกษาอิสระ -- บริหารการศึกษาth_TH
dc.titleความสัมพันธ์ระหว่างภาวะผู้นำเชิงนวัตกรรมของผู้บริหารสถานศึกษาและความเป็นองค์กรดิจิทัลของสถานศึกษา ในอำเภอท่าชนะ สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่ประถมศึกษาสุราษฏร์ธานี เขต 2th_TH
dc.title.alternativeThe relationship between innovative leadership of school administrators and the being digital organization of schools in Tha Chana District under Surat Thani Primary Education service area office 2th_TH
dc.typeThesisen_US
dc.degree.nameศึกษาศาสตรมหาบัณฑิตth_TH
dc.degree.levelปริญญาโทth_TH
dc.degree.disciplineสาขาวิชาศึกษาศาสตร์th_TH
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.description.abstractalternativeThe objectives of this research were to study (1) the level of innovative leadership of administrators of schools in Tha Chana district under Surat Thani Primary Education Service Area Office 2; (2) the level of being digital organization of the schools; and (3) the relationship between innovative leadership of administrators of the schools and the being digital organization of the schools. The research sample consisted of 203 teachers who were teaching in schools in Tha Chana district under Surat Thani Primary Education Service Area Office 2, obtained by simple random sampling. The employed research instruments was a questionnaire on innovative leadership of the school administrator and the being digital organization of the school, with reliability coefficients of .98 and .96, respectively. Statistics employed for data analysis were the frequency, percentage, mean, standard deviation, and Pearson product-moment correlation. Research findings showed that (1) both the overall and specific aspects of innovative leadership of school administrators were rated at the high level, and the specific aspects could be ranked in order from top to bottom as follows: the team working and collaboration, the encouragement for organizational personnel, the assignment of realistic workload, the procurement of resources, the supports and promotion of will power of the personnel, the elimination of obstacles for creation of innovations, the promotion of freedom, and the challenging innovative work outcomes, respectively; (2) both the overall and specific aspects of the being digital organization of the schools were rated at the high level, and specific aspects could be ranked in order from top to bottom as follows: the organizational culture, the personnel, the structure and work process, and the technology, respectively; and (3) the overall innovative leadership of the school administrators correlated positively with the overall being digital organization of the schools at the high level (r = 0.85), which was significant at the .01 level of statistical significanceen_US
Appears in Collections:Edu-Independent study

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
fulltext_163276.pdfเอกสารฉบับเต็ม18.3 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons