Please use this identifier to cite or link to this item:
https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/6817
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.advisor | รัตนา ดวงแก้ว | th_TH |
dc.contributor.author | ทับทิม พิทักษ์เขตขัณฑ์, 2528- | th_TH |
dc.contributor.other | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาศึกษาศาสตร์ | th_TH |
dc.date.accessioned | 2023-06-28T04:02:25Z | - |
dc.date.available | 2023-06-28T04:02:25Z | - |
dc.date.issued | 2560 | - |
dc.identifier.uri | https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/6817 | en_US |
dc.description.abstract | การศึกษาครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) ศึกษาสภาพที่เป็นจริงและสภาพที่พึงประสงค์ในการส่งเสริมครูทำวิจัยในชั้นเรียนของผู้บริหารสถานศึกษา ในโรงเรียนมัธยมศึกษากลุ่มพญาวัง สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาเขต 35 (2) ศึกษาระดับความต้องการจำเป็นในการส่งเสริมครูทำวิจัยในชั้นเรียนของผู้บริหารสถานศึกษา และ (3) ศึกษาข้อเสนอแนะแนวทางในการส่งเสริมครูทำวิจัยในชั้นเรียนของผู้บริหารสถานศึกษา กลุ่มตัวอย่าง คือ ครูผู้สอนในโรงเรียนมัธยมศึกษากลุ่มพญาวัง สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาเขต 35 จำนวน 6 แห่ง ปีการศึกษา 2559 จำนวน 137 คน เครื่องมือที่ใช้ ได้แก่ แบบสอบถามชนิดมาตรประมาณค่าแบบตอบสนองคู่ ประกอบด้วยข้อมูลสภาพที่เป็นจริงและสภาพที่พึงประสงค์ในการส่งเสริมครูทำวิจัยในชั้นเรียนของผู้บริหารสถานศึกษาซึ่งมีค่าความเที่ยงเท่ากับ .87 และ .88 ตามลำดับ และแบบสัมภาษณ์ชนิดกึ่งโครงสร้าง ทำการวิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้ความถี่ ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน ค่าดัชนีความต้องการจำเป็น ( PNI modified ) และการวิเคราะห์เนื้อหา ผลการวิจัยปรากฏว่า (1) สภาพที่เป็นจริงในการส่งเสริมครูทำวิจัยในชั้นเรียนของผู้บริหารสถานศึกษาในโรงเรียนมัธยมศึกษากลุ่มพญาวัง ภาพรวมอยู่ในระดับปานกลาง ส่วนสภาพที่พึงประสงค์ ภาพรวมอยู่ในระดับมากที่สุด (2) ความต้องการจำเป็นในการส่งเสริมครูทำวิจัยในชั้นเรียนของผู้บริหารสถานศึกษาเรียงตามลำดับจากมากไปน้อย ได้แก่ ด้านการสนับสนุนทรัพยากรและสิ่งอำนวยความสะดวก ด้านการนิเทศกำกับและติดตามด้านการวิจัยในชั้นเรียน ด้านการเสริมสร้างขวัญและกำลังใจ ด้านการส่งเสริมความก้าวหน้าทางวิชาชีพครู และด้านการพัฒนาครูด้านการวิจัยในชั้นเรียน และ (3) ข้อเสนอแนะแนวทางในการส่งเสริมครูทำวิจัยในชั้นเรียนของผู้บริหารสถานศึกษา ได้แก่ ผู้บริหารสถานศึกษาควรสนับสนุนงบประมาณการทำวิจัยในชั้นเรียน จัดหาทรัพยากรและสิ่งอำนวยความสะดวกให้เพียงพอและเหมาะสมกับความต้องการของครู จัดทำแผนปฏิบัติการนิเทศเกี่ยวกับวิจัยในชั้นเรียนร่วมกับครู ส่งเสริมการนิเทศกำกับติดตามและให้การช่วยเหลือครูในการทำวิจัยในชั้นเรียนโดยผู้เชี่ยวชาญ เสริมสร้างขวัญและกำลังใจให้กับครูอย่างหลากหลายช่องทาง นำผลงานการวิจัยมาใช้เพื่อส่งเสริมความก้าวหน้าทางวิชาชีพครู และสนับสนุนการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ระหว่างครูและการพัฒนาตนเองของครู | th_TH |
dc.format | application/pdf | en_US |
dc.language.iso | th | en_US |
dc.publisher | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช | th_TH |
dc.rights | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช | th_TH |
dc.rights | Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0) | en_US |
dc.rights.uri | https://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/ | en_US |
dc.source | Born digital | en_US |
dc.subject | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาศึกษาศาสตร์--การศึกษาเฉพาะกรณี | th_TH |
dc.subject | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. แขนงวิชาบริหารการศึกษา--การศึกษาเฉพาะกรณี | th_TH |
dc.subject | ครู | th_TH |
dc.subject | วิจัยเชิงปฏิบัติการทางการศึกษา | th_TH |
dc.subject | ผู้บริหารโรงเรียน--ไทย | th_TH |
dc.subject | ผู้อำนวยการโรงเรียน | th_TH |
dc.subject | การศึกษาอิสระ--บริหารการศึกษา | th_TH |
dc.title | ความต้องการจำเป็นในการส่งเสริมครูทำวิจัยในชั้นเรียนของผู้บริหารสถานศึกษาในโรงเรียนมัธยมศึกษา กลุ่มพญาวัง สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 35 | th_TH |
dc.title.alternative | Need assessment in promoting teachers’ classroom action research of school administrators in the Phaya-Wang Secondary Schools under Secondary Educational Service Area Office 35 | en_US |
dc.type | Thesis | en_US |
dc.degree.name | ศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต | th_TH |
dc.degree.level | ปริญญาโท | th_TH |
dc.degree.discipline | สาขาวิชาศึกษาศาสตร์ | th_TH |
dc.degree.grantor | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช | th_TH |
dc.description.abstractalternative | The purposes of this research were (1) to study the actual and desired conditions of promoting teachers’ classroom action research of school administrators in the Phaya-Wang secondary schools under the Secondary Education Service Area Office 35; (2) to prioritize the needs to promote teachers’ classroom action research of school administrators; and (3) to study guidelines for promoting teachers’ classroom action research of school administrators. The sample consisted of 137 teachers from six Phaya-Wang secondary schools under the Secondary Education Service Area Office 35 during the academic year 2016. The employed research instruments were a rating scale questionnaire with a dual-response format, dealing with data on the actual and desired conditions of promoting teachers’ classroom action research of school administrators, with reliability coefficients of .87 and .88, respectively; and a semi-structured interview form. The research data were analyzed using the frequency, percentage, mean, standard deviation, modified PNI, and content analysis. The research findings were as follows: (1) the overall rating mean for actual condition of promoting teachers’ classroom action research of school administrators in the Phaya-Wang secondary schools was at the moderate level, while that for the desired condition was at the highest level; (2) the aspects of promoting teachers’ classroom action research were ranked based on their identified needs from the highest to the lowest as follows: the aspect of resource and facility support, the aspect of supervision, monitoring, and follow up on classroom action research, the aspect of morale enhancement, the aspect of promoting teacher professional progress, and the aspect of teacher development in classroom action research; and (3) the guidelines for promoting teachers’ classroom action research of school administrators were the following: school administrators should support budgets for conducting classroom action research, provide sufficient resources and facilities to respond to the needs of teachers, establish a supervision action plan on classroom action research together with teachers, promote the supervision, monitoring, follow-up, and helping of teachers on classroom action research by experts, enhance the morale of teachers in various ways, use research results for promotion of teacher professional progress, and support learning exchange among teachers as well as their self-development. | en_US |
Appears in Collections: | Edu-Independent study |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
fulltext_161165.pdf | เอกสารฉบับเต็ม | 3.96 MB | Adobe PDF | View/Open |
This item is licensed under a Creative Commons License