Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/6823
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorชูชาติ พ่วงสมจิตร์, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.authorทัศนีย์ กระแสสิงห์, 2529-th_TH
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาศึกษาศาสตร์th_TH
dc.date.accessioned2023-06-28T04:22:36Z-
dc.date.available2023-06-28T04:22:36Z-
dc.date.issued2562-
dc.identifier.urihttps://ir.stou.ac.th/handle/123456789/6823en_US
dc.description.abstractการวิจัยครั้งนี้ มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) ศึกษาระดับภาวะผู้นำการเปลี่ยนแปลงของผู้บริหารสถานศึกษา (2) ศึกษาระดับประสิทธิผลการดำเนินงานของสถานศึกษา และ (3) ศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างภาวะผู้นำการเปลี่ยนแปลงของผู้บริหารกับประสิทธิผลการดำเนินงานของสถานศึกษา สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 2 กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการวิจัย ได้แก่ ครู สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 2 จำนวน 362 ได้มาโดยการสุ่มแบบมีระบบ เครื่องมือที่ใช้ คือ แบบสอบถามแบบมาตรประมาณค่า 5 ระดับที่ใช้วัดเกี่ยวกับระดับภาวะผู้นำการเปลี่ยนแปลงของผู้บริหารสถานศึกษา และประสิทธิผลการดำเนินงานของสถานศึกษา เครื่องมือมีความเที่ยงเท่ากับ .98 และ .99 ตามลำดับ สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ ความถี่ ร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และการวิเคราะห์สัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์ของเพียร์สัน ผลการวิจัยปรากฏว่า (1) ภาวะผู้นำการเปลี่ยนแปลงของผู้บริหาร โดยภาพรวมอยู่ในระดับมาก เมื่อพิจารณาเป็นรายด้านพบว่าทุกด้านอยู่ในระดับมาก เรียงลำดับจากค่าเฉลี่ยสูงสุดลงไป คือ การมีอิทธิพลอย่างมีอุดมการณ์ การสร้างแรงบันดาลใจ การคำนึงถึงความเป็นปัจเจกบุคคล และ การกระตุ้นทางปัญญา (2) ประสิทธิผลการดำเนินงานของสถานศึกษาโดยภาพรวมอยู่ในระดับมาก เมื่อพิจารณาเป็นรายด้านพบว่า มีด้านที่อยู่ในระดับมากที่สุด 3 ด้าน คือ ความสามารถในการแก้ปัญหาภายในโรงเรียน ความสามารถในการปรับเปลี่ยนและพัฒนาโรงเรียน และความสามารถในการพัฒนานักเรียนให้มีทัศนคติทางบวก และมีด้านที่อยู่ในระดับมาก 1 ด้าน คือ ความสามารถในการพัฒนานักเรียนให้มีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนสูง และ (3) ความสัมพันธ์ระหว่างภาวะผู้นำการเปลี่ยนแปลงของผู้บริหารกับประสิทธิผลการดำเนินงานของสถานศึกษา มีความสัมพันธ์กันทางบวกในระดับสูงที่ระดับนัยสำคัญทางสถิติที่ .01th_TH
dc.formatapplication/pdfen_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)en_US
dc.rights.urihttps://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/en_US
dc.sourceBorn digitalen_US
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาศึกษาศาสตร์ -- การศึกษาเฉพาะกรณีth_TH
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. แขนงวิชาบริหารการศึกษา -- การศึกษาเฉพาะกรณีth_TH
dc.subjectภาวะผู้นำการเปลี่ยนแปลงth_TH
dc.subjectผู้บริหารโรงเรียน -- ไทยth_TH
dc.subjectการศึกษาอิสระ -- บริหารการศึกษาth_TH
dc.titleความสัมพันธ์ระหว่างภาวะผู้นำการเปลี่ยนแปลงของผู้บริหารกับประสิทธิผลการดำเนินงานของสถานศึกษา สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 2th_TH
dc.title.alternativeThe relationship between transformational leadership of school administrators and effectiveness of school perations under the Office of Secondary Education Service Area 2th_TH
dc.typeThesisen_US
dc.degree.nameศึกษาศาสตรมหาบัณฑิตth_TH
dc.degree.levelปริญญาโทth_TH
dc.degree.disciplineสาขาวิชาศึกษาศาสตร์th_TH
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.description.abstractalternativeThe purposes of this research were (1) to study the level of transformational leadership of school administrators; (2) to study the level of operational effectiveness of schools; and (3) to study the relationship between transformational leadership of school administrators and operational effectiveness of schools under the Office of Secondary Education Service Area 2. The research sample consisted of 362 teachers in schools under the Office of Secondary Education Service Area 2, obtained by systematic sampling. The employed research instrument was a 5-level rating scale questionnaire to assess the level of transformational leadership of school administrators and the level of operational effectiveness of schools, with reliability coefficients of .98 and .99 respectively. Statistics employed for data analysis were the frequency, percentage, mean, standard deviation, and Pearson's product-moment correlation coefficient. The results of the study revealed that (1) the overall transformational leadership of school administrators was rated at the high level; when specific aspects of transformational leadership were considered, it was found that all aspects were rated at the high level and could be ranked from top to bottom based on their rating means as follows: the ideological influence aspect, the inspiration creation aspect, the individual consideration aspect, and the intellectual motivation aspect, respectively; (2) the overall operational effectiveness of schools was rated at the high level; when specific aspects of operational effectiveness were considered, it was found that three aspects were rated at the highest level, namely, the aspect of ability for solving internal problems in school, the aspect of ability for school adjustment and development, and the aspect of ability for development of positive attitude of students; while one specific aspect was rated at the high level, i.e. the aspect of ability for development of students to have high level of learning achievement; and (3) transformational leadership of school administrators and operational effectiveness of schools correlated positively at the high level which was significant at the .01 levelen_US
Appears in Collections:Edu-Independent study

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
fulltext_165741.pdfเอกสารฉบับเต็ม17.04 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons