Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/6824
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorปภาวดี มนตรีวัต, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.advisorอิศเรศ ศันสนีย์วิทยกุล, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.authorกัณทิมา คุณาวงศ์, 2514--
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สำนักบัณฑิตศึกษาth_TH
dc.date.accessioned2023-06-28T04:24:55Z-
dc.date.available2023-06-28T04:24:55Z-
dc.date.issued2555-
dc.identifier.urihttps://ir.stou.ac.th/handle/123456789/6824-
dc.description.abstractการวิจัยครั้งนี้ มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษา (1) ระดับความผูกพันต่อองค์การของพนักงาน สำนักงานคณะกรรมการการเลือกตั้ง (2) ปัจจัยที่ส่งผลต่อความผูกพันต่อองค์การของพนักงาน สำนักงานคณะกรรมการการเลือกตั้ง (3) แนวทางในการเสริมสร้างความผูกพันต่อองค์การของ พนักงานสำนักงานคณะกรรมการการเลือกตั้ง ประชากรในการศึกษาครั้งนี้ ได้แก่ พนักงานสำนักงานคณะกรรมการการเลือกตั้ง จำนวน 920 คน กลุ่มตัวอย่าง 279 คน กำหนดแบบชั้นภูมิตามสัดส่วน สุ่มตัวอย่างแบบบังเอิญ เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย ได้แก่ แบบสอบถาม สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ ความถี่ ร้อยละ ค่าเฉลี่ย ค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน และการวิเคราะห์ถดถอยพหุคูณ ผลการวิจัยพบว่า (1) ความผูกพันต่อองค์การของพนักงานสำนักงานคณะกรรมการการ เลือกตั้ง อยู่ในระดับมาก โดยด้านที่มีค่าเฉลี่ยสูงสุด ได้แก่ ด้านความตั้งใจคงไว้ซึ่งสมาชิกภาพของ องค์การ (2) ปัจจัยที่ส่งผลต่อความผูกพันต่อองค์การของพนักงานสำนักงานคณะกรรมการการ เลือกตั้ง ได้แก่ ความท้าทายของงาน ความตระหนักว่าตนมีความสำคัญต่อองค์การ การมีส่วนร่วม ในการบริหาร และความมีอิสระในงาน โดยตัวแปรทั้ง 4 ร่วมกันพยากรณ์ความผูกพันต่อองค์การ ได้ร้อยละ 51.4 (3) แนวทางสำคัญในการเสริมสร้างความผูกพันต่อองค์การ ได้แก่ ควรกำหนด กฎระเบียบให้มีความยืดหยุ่นตามความเหมาะสม ให้อิสระในการใช้ดุลยพินิจในการตัดสินใจ ควร ปลูกจิตสำนึกพนักงานให้เห็นถึงความสำคัญของงานที่ปฏิบัติ เปิดโอกาสให้แสดงความคิดริเริ่ม ใหม่ ๆ ในการปฏิบัติงาน ให้พนักงานได้มีส่วนร่วมในการประชุมกำหนดนโยบายตามความ เหมาะสมเพื่อแลกเปลี่ยนทัศนคติในการทำงานระหว่างพนักงานกับผู้บริหารเพื่อประโยชน์ในการ พัฒนาองค์การ ควรจัดให้มีการพบปะสังสรรค์กันภายในองค์การ เพื่อสร้างความรักความสามัคคีอัน จะก่อให้เกิดความผูกพันกันในหมู่พนักงาน นอกจากนั้นผู้บังคับบัญชาควรให้ความชื่นชมและ ยอมรับในความสามารถของพนักงานที่มีผลการปฏิบัติงานที่ดี ซึ่งจะส่งผลให้พนักงานเกิด ความรู้สึกว่าตนทรงคุณค่าและมีประโยชน์ต่อองค์การth_TH
dc.formatapplication/pdfen_US
dc.language.isothth_TH
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.relation.urihttps://www.doi.org/10.14457/STOU.the.2012.40en_US
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)en_US
dc.rights.urihttps://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/en_US
dc.sourceBorn digitalen_US
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. แขนงวิชาบริหารรัฐกิจ -- วิทยานิพนธ์th_TH
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาวิทยาการจัดการ -- วิทยานิพนธ์th_TH
dc.subjectความผูกพันต่อองค์การth_TH
dc.subjectพนักงานคณะกรรมการการเลือกตั้ง -- การทำงานth_TH
dc.titleความผูกพันต่อองค์การของพนักงานสำนักงานคณะกรรมการการเลือกตั้งth_TH
dc.title.alternativeOrganizational commitment of the Office of the Election Commission of Thailand's officersth_TH
dc.typeThesisth_TH
dc.degree.nameบริหารธุรกิจมหาบัณฑิตth_TH
dc.degree.levelปริญญาโทth_TH
dc.degree.disciplineสาขาวิชาวิทยาการจัดการth_TH
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.description.abstractalternativeThe objectives of this research were to study: (1) level of organizational commitment of the Office of the Election Commission of Thailand’s officers; (2) factors affecting the organizational commitment of the Office of the Election Commission of Thailand’s officers; and (3) appropriate ways to enhance organizational commitment of the Office of the Election Commission of Thailand’s officers. Population consisted of 920 officers of the Office of the Election Commission of Thailand, from which 279 samples were obtained through stratified proportional sampling method. Accidental sampling method was also applied. Research instrument was questionnaire. Statistical tools employed were frequency, percentage, mean, standard deviation and multiple regression analysis. The findings showed that (1) organizational commitment of officers of the Office of the Election Commission of Thailand was at high level, with the highest mean on the aspect of intention to remain organizational membership; (2) factors affecting organizational commitment were challenge of work, realization of selfimportance to the organization, participation in administration, and work autonomy, all 4 variables could predict organizational commitment at 51.4 percent (3) appropriate ways to enhance organizational commitment were: there should be more flexibility in rules and regulation necessary to facilitate workflow, more work autonomy and opportunities in making decision, officers should be instilled the realization of the importance of their operation, they should be provided with opportunities to initiate new ideas, and to participate in the meeting concerning policy formulation so to exchange their view with the executives which would lead to organization development, moreover, there should be parties or get together meetings in house to foster organizational harmony that would strengthen the commitment among officers, in addition, the management should admire and accept the officers with good performances or high capabilities, which would result in their confidence of their invaluableness and their worth to the organizationen_US
Appears in Collections:Manage-Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
132586.pdfเอกสารฉบับเต็ม1.95 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons