Please use this identifier to cite or link to this item:
https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/682
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.advisor | นิตยา เพ็ญศิรินภา | th_TH |
dc.contributor.author | จำรูล จันทร์หอม, 2503- | th_TH |
dc.contributor.other | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สำนักบัณฑิตศึกษา | th_TH |
dc.date.accessioned | 2022-08-17T10:36:59Z | - |
dc.date.available | 2022-08-17T10:36:59Z | - |
dc.date.issued | 2549 | - |
dc.identifier.uri | http://ir.stou.ac.th/handle/123456789/682 | - |
dc.description | วิทยานิพนธ์ (ส.ม.(สาธารณสุขศาสตร์))--มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช, 2549 | th_TH |
dc.description.abstract | การวิจัยครั้งนี้มีวัตถประสงค์เพื่อ (1) ศึกษาปัจจัยส่วนบุคคล การเสริมสร้างพลังอำนาจในงาน และการปฏิบัติกิจกรรมพัฒนาคุณภาพบริการของพยาบาลประจำการในโรงพยาบาลชุมชน เขต 13 (2) ศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างปัจจัยส่วนบุคคล การเสริมสร้างพลังอำนาจในงานกับการปฏิบัติกิจกรรมพัฒนาคุณภาพบริการของพยาบาลประจำการ และ (3) ศึกษาตัวแปรที่ทำนายการปฏิบัติกิจกรรมพัฒนาคุณภาพบริการของพยาบาลประจำการในโรงพยาบาลชุมชน เขต 13 การศึกษานี้เป็นการศึกษาเชิงสำรวจ กลุ่มตัวอย่างที่ศึกษา คือ พยาบาลวิชาชิพระดับปฏิบัติการที่ปฏิบัติงานในโรงพยาบาลชุมชน เขต 13 จำนวน 18 แห่ง จำนวน 392 คน ที่ได้จากการสุ่มตัวอย่างแบบจัดชั้นจากโรงพยาบาลทั้งหมด 72 แห่ง เครื่องมือการวิจัยเป็นแบบสอบถาม มีคำความเชื่อมั่น ด้านการเสริมสร้างพลังอำนาจในงานและด้านการปฏิบัติกิจกรรมพัฒนาคุณภาพบริการ เท่ากับ .82 และ .92 ตามลำลับ ได้รับแบบสอบถามคืน จำนวน 319 ฉบับ คิดเป็นร้อยละ 81.4 การวิเคราะห์ข้อมูลใช้ร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน สัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์ของเพียร์สัน ไค-สแควร์และการวิเคราะห์ถดถอยพทุคูณแบบขั้นตอน ผลการวิจัยพบว่า (1) ผู้ตอบแบบสอบถามเป็นพยาบาลประจำการในโรงพยาบาลชุมชน เขต 13 มีอายุเฉลี่ย 33.57 ปี ประสบการณ์การทำงานเฉลี่ย 8.02 ปี ส่วนใหญ่มีวุฒิการศึกษาระดับปริญญาตรี ร้อยละ 99.7 และผ่านการฝึกอบรมด้านการพัฒนาคุณภาพบริการ ร้อยละ 86.8 ภาพรวมของการได้รับการเสริมสร้างพลังอำนาจในงานอยู่ในระดับสูง ส่วนการปฏิบัติกิจกรรมพัฒนาคุณภาพบริการอยู่ในระดับสูง ถึงสูงมาก (2) การเสริมสร้างพลังอำนาจในงานในภาพรวมมีความสัมพันธ์ทางบวกระดับปานกลางกับการปฏิบัติกิจกรรมพัฒนาคุณภาพบริการอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ ( .001) เมื่อวิเคราะห์รายด้านพบว่า การได้รับอำนาจและการได้รับโอกาสมีความสัมพันธ์ทางบวกระดับปานกลางกับการปฏิบัติกิจกรรมพัฒนาคุณภาพบริการ (<.001) และ (3) การเสริมสร้างพลังอำนาจในงานทั้งด้านการได้รับอำนาจ การได้รับโอกาส และวุฒิการศึกษา สามารถร่วมกันพยากรณ์ การปฏิบัติกิจกรรมพัฒนาคุณภาพบริการ โดยมีอำนาจพยากรณ์ร้อยละ 38.8 (R2= .388) | th_TH |
dc.format | application/pdf | en_US |
dc.language.iso | th | th_TH |
dc.publisher | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช | th_TH |
dc.rights | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช | th_TH |
dc.rights | Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0) | en_US |
dc.rights.uri | https://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/ | en_US |
dc.source | Reformatted digital | en_US |
dc.subject | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาวิทยาศาสตร์สุขภาพ--วิทยานิพนธ์ | th_TH |
dc.subject | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. แขนงวิชาสาธารณสุขศาสตร์--วิทยานิพนธ์ | th_TH |
dc.subject | โรงพยาบาลชุมชน--การบริหาร | th_TH |
dc.subject | บุคลากรโรงพยาบาล | th_TH |
dc.title | ความสัมพันธ์ระหว่างปัจจัยส่วนบุคคล การเสริมสร้างพลังอำนาจในงานกับการปฏิบัติกิจกรรมพัฒนาคุณภาพบริการของพยาบาลประจำการในโรงพยาบาลชุมชน เขต 13 | th_TH |
dc.title.alternative | Relationships between personal factors, job empowerment, and performance in service quality improvement activities of staff nurses, Community Hospitals in the Inspection Region 13 | th_TH |
dc.type | Thesis | th_TH |
dc.degree.name | สาธารณสุขศาสตรมหาบัณฑิต | th_TH |
dc.degree.level | ปริญญาโท | th_TH |
dc.degree.discipline | สาขาวิชาวิทยาศาสตร์สุขภาพ | th_TH |
dc.degree.grantor | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช | th_TH |
dc.description.abstractalternative | The purposes of this research were: (1) to describe personal characteristics, job empowerment, and performance in service quality improvement activities of staff nurses; (2) to study the relationships between personal factors , job empowerment, and performance in service quality improvement activities; and (3) to identify predictors of performance in service quality improvement activities of staff nurses, Community hospital in the Inspection Region 13. This research was a descriptive one with study samples of 392 staff nurses randomly selected by stratification sampling technique from community hospitals in the Inspection Region 13. Study instrument a questionnaire, which was tested for its reliability resulting in the alpha of coefficients of job empowerment and service quality improvement activities of .82 and .92 respectively. There were 119 respondents, who returned the completed questionnaires with respond rate of 81.4%. Data were analyzed using percentage, mean, standard deviation, Pearson’s product moment correlation coefficient, Chi-square test, and Stepwise multiple regression analysis. Major findings were as follows: (1) the respondents were permanent staff nurses were from community hospitals in the Inspection Region 13 with the average age and working experience at 33.57 and 8.02 years respectively. Nearly all of them were educated at bachelor’s degree and most of whom (86.8%) had been trained in service quality improvement. Overall Job empowerment of staff nurses was at high level while performance in service quality improvement activities was at high level; (2) job empowerment was significantly and positively related to performance in service quality improvement activities of staff nurses (< .001). According to each subscale of job empowerment, power and opportunity were also correlated with performance in service quality improvement activities (< .001, respectively); (3) Job empowerment with aspects of power, opportunity and education of staff nurses were predictors of performance in service quality improvement activities accounting for 38.8% of the variance. (R2 = 0.388) | en_US |
dc.contributor.coadvisor | สมใจ พุทธาพิทักษ์ผล | th_TH |
Appears in Collections: | Health-Theses |
This item is licensed under a Creative Commons License