Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/6842
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorเฉลิมพงศ์ มีสมนัย, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.advisorมานิต ศุทธสกุล, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.authorยอดยิ่ง รักสัตย์, 2500--
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สำนักบัณฑิตศึกษาth_TH
dc.date.accessioned2023-06-28T06:48:35Z-
dc.date.available2023-06-28T06:48:35Z-
dc.date.issued2553-
dc.identifier.urihttps://ir.stou.ac.th/handle/123456789/6842-
dc.description.abstractการวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) ปัจจัยที่มีผลต่อประสิทธิภาพในการปฏิบัติงานของพนักงาน ส่วนตำบลในจังหวัดลำปาง 2) เพื่อศึกษาประสิทธิภาพในการปฏิบัติงานของพนักงานส่วนตำบล ในจังหวัด ลำปาง 3) เพื่อศึกษาถึงปัญหา อุปสรรคและข้อเสนอแนะในการปฏิบัติงานของพนักงานส่วนตำบล ในจังหวัด ลำปาง การวิจัยครั้งนี้ใช้รูปแบบการวิจัยเชิงสำรวจ (Survey Research) ประชากรเป็นพนักงานส่วนตำบล ในองค์การบริหารส่วนตำบล จังหวัดลำปาง จำนวน 746 คน ศึกษาจากกลุ่มตัวอย่างจำนวน 260 คน โดยสุ่ม กลุ่มตัวอย่างแบบสัดส่วน (Quota Sampling) เครื่องมือที่ใช้เป็นแบบสอบถาม การวิเคราะห์ข้อมูลด้วยโปรแกรม สำเร็จรูป สถิติที่ใช้ ได้แก่ ร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน การทดสอบสมมติฐาน ใช้การคำนวณหา ค่าสัมประสิทธ์ิสหสัมพันธ์แบบเพียร์สัน (Pearson Product Moment Correlation Coefficient ) และ ค่าไคสแควร์ (Chi-Squre Test) ผลการวิจัยพบว่า 1) ปัจจัยที่มีผลต่อประสิทธิภาพในการปฏิบัติงานของพนักงานส่วนตำบลใน จังหวัดลำปาง ที่เป็นปัจจัยส่วนบุคคล ได้แก่ ระดับตำแหน่ง โดยมีนัยสำคัญทางสถิติที่ 0.05 ส่วนปัจจัยที่ เกี่ยวข้องกับการปฏิบัติงานทั้ง 11 ปัจจัย มีผลต่อประสิทธิภาพในการปฏิบัติงาน ได้แก่ ความพึงพอใจในหน้าที่ ความสัมพันธ์กับผู้บังคับบัญชา ความสัมพันธ์กับเพื่อนร่วมงาน โอกาสความก้าวหน้าในอาชีพ ความมั่นคงใน การทำงาน รายได้และสวัสดิการ การรับรู้ต่อความสำเร็จในงานที่รับผิดชอบ สภาพแวดล้อมในการทำงาน การ ได้รับการอบรมและพัฒนา นโยบายและการบริหารงานและการปกครองและการบังคับบัญชา โดยทั้งหมดมี นัยสำคัญทางสถิติที่ 0.01 ส่วนปัจจัยด้านการบริหารทั้ง 3 แบบ ได้แก่ การบริหารตามหลักธรรมาภิบาล การ บริหารเชิงกลยุทธ์และการบริหารแบบมุ่งผลสัมฤทธ์ิทั้งหมดมีผลต่อประสิทธิภาพในการปฏิบัติอย่างมีนัยสำคัญ ทางสถิติที่ 0.01 2) ระดับความคิดเห็นเกี่ยวกับประสิทธิภาพในการปฏิบัติงานของพนักงานส่วนตำบล ใน จังหวัดลำปาง ในภาพรวมอยู่ในระดับมาก 3) ปัญหาและอุปสรรคในการปฏิบัติที่สำคัญ ได้แก่ อัตรากำลังของ พนักงานส่วนตำบลไม่เพียงพอต่อการปฏิบัติงาน รองลงมาคือ ปัญหาความขัดแย้งของบุคลากรภายในหน่วยงาน ส่วนข้อเสนอแนะที่สำคัญ ได้แก่ ต้องการให้บริหารงานตามหลัก ธรรมาภิบาลอย่างเคร่งครัด รองลงมาคือการ เสริมสร้างขวัญกำลังใจในการปฏิบัติงานth_TH
dc.formatapplication/pdfen_US
dc.language.isothth_TH
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.relation.urihttps://www.doi.org/10.14457/STOU.the.2010.72en_US
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)en_US
dc.rights.urihttps://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/en_US
dc.sourceBorn digitalen_US
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาวิทยาการจัดการ -- วิทยานิพนธ์th_TH
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. แขนงวิชาบริหารรัฐกิจ -- วิทยานิพนธ์th_TH
dc.subjectองค์การบริหารส่วนตำบล -- ไทย -- ลำปาง -- ความพอใจในการทำงานth_TH
dc.titleปัจจัยที่มีผลต่อประสิทธิภาพการปฏิบัติงานของพนักงานส่วนตำบล ในจังหวัดลำปางth_TH
dc.title.alternativeFactor affecting performance efficiency of the officers of Sub-district Administrative Organizations in Lampang Provinceth_TH
dc.typeThesisth_TH
dc.degree.nameบริหารธุรกิจมหาบัณฑิตth_TH
dc.degree.levelปริญญาโทth_TH
dc.degree.disciplineสาขาวิชาวิทยาการจัดการth_TH
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.description.abstractalternativeThe objective of this research were to 1) study the factors Affective performance efficiency of the officers of sub-District Administrative Organizations in Lampang Province. 2) study the level of performance of The officers of Sub-District Administrative Organizations in Lampang Province. 3) study the problems, obstacles and recommends to the performance of the officers of Sub-District Administrative Organizations in Lampang Province. This study was the survey research, the population were 746 persons and sample group were 260 persons of Sub-District Administrative Organizations in Lampang Province via the Quota sampling. The tool of data collection was the survey questionnaire. The data were analyzed by using the software package and the statistic of this research included percentage, Mean, Standard Deviation and Hypothesis test was calculated by Pearson Product Moment Correlation Coefficient and Chi-Squre test. The research found that: (1) Factors affective performance efficiency of the officers of Sub- District Administrative Organizations in Lampang Province were, Prsonel factor was job position at the 0.05 level significance, Performance factors affective performance efficiency were Job Statification, the relationship with superiors, interpersonal relationship , Job promotion, Job security, salary and welfare, Job achivement, Job environment, training and devotopment , policy and administration and line authority at the 0.01 level significance , Management factors were Good Governance, Statragic Management and Result Based Management affective performance efficiency of the officers Lampang Province at the 0.01 level significane 3) The major problems and obsatacles were personel shortage problem and personel confict in organizations The major recommends were good Governance performance and building morale at worken_US
Appears in Collections:Manage-Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
133802.pdfเอกสารฉบับเต็ม2.23 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons