Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/6846
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorจำเนียร ราชแพทยาคม, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.authorภัคธนัช พรมบุญแก้ว, 2531- ผู้แต่งth_TH
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาวิทยาการจัดการth_TH
dc.date.accessioned2023-06-28T07:02:18Z-
dc.date.available2023-06-28T07:02:18Z-
dc.date.issued2560-
dc.identifier.urihttps://ir.stou.ac.th/handle/123456789/6846-
dc.description.abstractการศึกษาครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) ศึกษาสภาพและบริบทของสหกรณ์โคนมกุยบุรีจำกัด อำเภอกุยบุรี จังหวัดประจวบคีรีขันธ์ (2) ศึกษาปัจจัยที่เกี่ยวข้องกับการพัฒนายุทธศาสตร์ของสหกรณ์โคนมกุยบุรีจำกัด อำเภอกุยบุรี จังหวัดประจวบคีรีขันธ์ (3) วิเคราะห์ปัญหาและอุปสรรคในการพัฒนายุทธศาสตร์ของสหกรณ์ โคนมกุยบุรี จำกัด อำเภอกุยบุรี จังหวัดประจวบคีรีขันธ์ และ (4) พัฒนายุทธศาสตร์ของสหกรณ์โคนมกุยบุรี จำกัด อำเภอกุยบุรี จังหวัดประจวบคีรีขันธ์การศึกษาครั้งนี้เป็นการวิจัยเชิงคุณภาพ ประชากรที่ศึกษาจำนวน 12 คน แบ่งเป็น 2กลุ่ม คือ บุคลากร ภาครัฐที่ปฏิบัติหน้าที่เกี่ยวข้องกับอาชีพการเลี้ยงโคนม จำนวน 6 คน และเจ้าหน้าที่สหกรณ์โคนมกุยบุรี จำกัด จำนวน 6 คน เก็บรวบรวมข้อมูลจากประชากรทั้งหมด วิธีการเก็บรวบรวมข้อมูลได้แก่ การสัมภาษณ์ การสนทนากลุ่ม การวิเคราะห์เอกสารและการสังเกตการณ์ เครื่องมือที่ใช้ในการศึกษาประกอบด้วยแบบสัมภาษณ์เชิงลึก แบบสอบถาม สำหรับการสนทนากลุ่ม และแบบบันทึกข้อมูล การวิเคราะห์ข้อมูลใช้การวิเคราะห์เนื้อหา ผลการศึกษาพบว่า (1) สภาพและบริบทของสหกรณ์ โคนมกุยบุรีที่พบคือ กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ ให้ความสำคัญกับการแก้ไขปัญหาโครงการนมโรงเรียนทั้งระบบ ทั้งด้านการผลิต โดยยกระดับฟาร์มตามหลักเกณฑ์การปฏิบัติทางการเกษตรที่ดีสำหรับฟาร์มโคนม และด้านยกระดับคุณภาพน้ำนมดิบโดยให้ปริมาณ ของแข็งรวมมีมาตรฐานสูงขึ้น ซึ่งในปี การศึกษาที่ 2/2560 สหกรณ์โคนม กุยบุรี ยังดำเนินงานไม่ผ่านเกณฑ์ ปัจจุบัน สหกรณ์โคนมกุยบุรีแก้ไขปัญหาโดยการส่งนมไปขายโรงงานแปรรูปเพื่อผลิตเป็นนมพาณิชย์ทั้งหมด สหกรณ์มี การปรับปรุงคุณภาพน้ำานมและส่งเสริมมาตรฐานฟาร์ม แต่ขาดการวางแผนและเป้าหมายที่ชัดเจนในการพัฒนา (2) ปัจจัยที่มีส่วนเกี่ยวข้องกับการพัฒนายุทธศาสตร์ คือ ปัจจัยภายใน ประกอบด้วย กลยุทธ์ โครงสร้างองค์การ สไตล์การทำงานของผู้บริหาร ระบบงาน บุคลากรในหน่วยงาน ทักษะองค์การ ค่านิยมองค์การ ปัจจัยภายนอก ประกอบด้วย นโยบายจากภาครัฐ ต้นทุนการผลิต ปัจจัยทางสังคม เทคโนโลยี (3) ปัญหาและอุปสรรคในการพัฒนา ยุทธศาสตร์ คือ แผนพัฒนาสหกรณ์ที่มีไม่ครอบคลุมสภาพแวดล้อมในปัจจุบัน ผู้บริหารขาดการให้ความสำคัญ กับการพัฒนายุทธศาสตร์ (4) การพัฒนายุทธศาสตร์ของสหกรณ์โคนมกุยบุรีในอนาคตควรดำเนินการใน 4 ด้าน คือ ด้านแรก ด้านประสิทธิผลตามพันธกิจ ได้แก่ ยุทธศาสตร์พัฒนาธุรกิจรวบรวมน้ำนมดิบให้ได้มาตรฐานสากล ด้านที่สอง ด้านประสิทธิภาพของการปฏิบัติงาน ได้แก่ ยุทธศาสตร์พัฒนาระเบียบสหกรณ์ให้ทันสมัย ด้านที่สาม ด้านคุณภาพการให้บริการ ได้แก่ ยุทธศาสตร์พัฒนาด้านการผลิตและคุณภาพน้ำนมดิบให้ได้มาตรฐาน และด้านที่สี่ ด้านการพัฒนาองค์การ ได้แก่ ยุทธศาสตร์การพัฒนาสหกรณ์ให้มีระบบบริหารจัดการที่เข้มแข็ง และยุทธศาสตร์ การส่งเสริม สนับสนุน การพัฒนาการจัดการฟาร์มโคนมให้เป็นฟาร์มมาตรฐานth_TH
dc.formatapplication/pdfen_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)en_US
dc.rights.urihttps://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/-
dc.sourceBorn digitalen_US
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาวิทยาการจัดการ --การศึกษาเฉพาะกรณีth_TH
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. แขนงวิชาบริหารรัฐกิจ --การศึกษาเฉพาะกรณีth_TH
dc.subjectสหกรณ์โคนม--การจัดการth_TH
dc.subjectสหกรณ์โคนม--ไทย--ประจวบคีรีขันธ์th_TH
dc.subjectการศึกษาอิสระ--บริหารรัฐกิจth_TH
dc.titleการพัฒนายุทธศาตร์ของสหกรณ์โคนมกุยบุรี จำกัด อำเภอกุยบุรี จังหวัดประจวบคีรีขันธ์th_TH
dc.title.alternativeStrategy development of Kuiburi Dairy Cooperative Ltd., Kuiburi District in Prachuap Khiri Khan Provinceen_US
dc.typeThesisen_US
dc.degree.nameรัฐประศาสนศาสตรมหาบัณฑิตth_TH
dc.degree.levelปริญญาโทth_TH
dc.degree.disciplineสาขาวิชาวิทยาการจัดการth_TH
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.description.abstractalternativeThe purposes of this study were to: (1 ) study the status and content of Kuiburi Dairy Cooperative Ltd., Kuiburi District in Prachuap Khiri Khan Province; (2) study factors relating strategy development of Kuiburi Dairy Cooperative Ltd., Kuiburi District in Prachuap Khiri Khan Province; (3) analyze problems and obstacles of strategy development of Kuiburi Dairy Cooperative Ltd., Kuiburi District in Prachuap Khiri Khan Province and; (4) develop the strategies of Kuiburi Dairy Cooperative Ltd., Kuiburi District in Prachuap Khiri Khan Province. This study was a qualitative research. Population was 12 informants, classified into 2 groups. Those were 6 government officials who were in-charge in dairy farming and 6 officers of Kuiburi Dairy Cooperative Ltd. Data collection was done among the entire population. Data collection methods were interviewing, focus group, documentary research and observation. Research instruments were in-depth interview form, structured questionnaire for the focus group, recording form. Data analysis was content analysis. The findings revealed that: (1 ) the status and content of Kuiburi Dairy Cooperative Ltd. were Ministry of Agriculture and Cooperatives gave priority on problem solving in all systems of milk as supplement food in school both product aspect in uplifting to meet agricultural good practice criteria for dairy farm and fortified milk quality and higher standard of solids of milk. It was found that in second semester of the year 2017, Kuiburi Dairy Cooperative Ltd. failed. Now Kuiburi Dairy Cooperative Ltd. solved the problems by selling milk to commercial dairy processing, milk quality and dairy farm standard were developed but still lacked of planning and clear ultimate goals for further development (2) factors relating strategy development of Kuiburi Dairy Cooperative Ltd. were internal factors, those were strategies, structure, organization, style of the executives, system, staff, skills, organizational values and external factors, those were government policy, investment cost, social factors and technology (3) main problems and obstacles of strategy development were the existing strategies were not coverable the current situation and the executives did not prioritize the strategy development; and (4) strategy development of Kuiburi Dairy Cooperative Ltd. in the future were there should implement in 4 strategies. Firstly, the effectiveness of the mission, the recommended strategy was raw milk collection development to meet the standard. Secondly, implementation efficiency, the recommended strategy was the cooperative’s regulation modernization development. Thirdly, service quality, the recommended strategy was product and raw milk quality standardization development and fourthly, organization development, the recommended strategy was the strengthened cooperative’s administration development and the standardized dairy farm administration promotion, support and developmenten_US
Appears in Collections:Manage-Independent study

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
fulltext_158800.pdfเอกสารฉบับเต็ม11.6 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons