Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/6848
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorสุวีณา ตั่งโพธิสุวรรณ, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.advisorเชาว์ โรจนแสง, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.authorสุมาลี ตั้งภักดี-
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สำนักบัณฑิตศึกษาth_TH
dc.date.accessioned2023-06-28T07:11:47Z-
dc.date.available2023-06-28T07:11:47Z-
dc.date.issued2551-
dc.identifier.urihttps://ir.stou.ac.th/handle/123456789/6848-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (บธ.ม. (บริหารธุรกิจ))--มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช, 2551th_TH
dc.description.abstractการวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษา (1) ความพร้อมด้านเทคนิคที่มีผลต่อการเพื่ม กำลังการผลิดของโรงไฟฟ้าชีวมวล (2) อัตราผลตอบแทนของโครงการการเพื่มกำลังการผลิตของ โรงไฟฟ้าชีวมวล (3) ผลกระทบต่อชุมชนสิ่งแวดลัอมในการเพื่มกำลังการผลิตของโรงไฟฟ้าชีวมวล วิธีวิจัยเป็นการวิจัยเชิงสำรวจโดยประชากรที่ศึกษามี 2 กลุ่มคือกลุ่มผู้บริหารของ โรงไฟฟ้าด่านช้าง ไบโอ-เอ็นเนอร์ยี ที่มีจำนวน 3 คนและกลุ่มประชาชนที่อาศัยอยู่ในพื่นที่รัศมี 5 กิโลเมตรจากโรงไฟฟ้าฯ จำนวน 13 หมู่บ้าน 3,518 ครัวเรือน การวิจัยทำการสัมภาษณ์ผู้บริหารของ โรงไฟฟ้าฯ ทั้งหมด 3 คน ในกลุ่มของประชาชนได้กำหนดขนาดของกลุ่มตัวอย่างจำนวน 358 ครัวเรือนที่ระดับความเชื่อมั่น 95% และทำการสุ่มตัวอย่างแบบสัดส่วน ข้อมูลที่ใด้ในการวิจัยเป็น ข้อมูลปฐมภูมิและทุติยภูมิ เครื่องมือที่ใด้ในการวิจัยคือแบบสัมภาษณ์สำหรับสัมภาษณ์ผู้บริหารเพื่อ ศึกษาความพร้อมด้านเทคนิคและผลตอบแทนของโครงการ และแบบสอบถามสำหรับกลุ่มตัวอย่าง ที่เป็นประชาชนเพื่อศึกษาผลกระทบต่อชุมชนและสิ่งแวดล้อม สถิติที่ใด้ในการวิเคราะห์ข้อมูลคือ ค่าร้อยละ ค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน การทดสอบไคสแควร์ การวิเคราะห์ค่าตอบแทนของการเพื่มกำลัง การผลิตของโรงไฟฟ้าชีวมวล โครงการโรงไฟฟ้าด่านช้างไบโอ-เอ็นเนอร์ยีและระยะเวลาในการคืน ทุน ผลการวิจัยพบว่า (1)โรงไฟฟ้าด่านช้างไบโอ-เอ็นเนอร์ยี มีความพร้อมด้านเทคนิคโดย มีโครงการจ้างบริษัท ALSTOM POWER ประเทศออสเตรเลีย ชื่งเป็นบริษัทฯ ที่มีชื่อเสียงและ ได้รับการยอมรับไปทั้วโลกในด้านการออกแบบและก่อสร้างโรงไฟฟ้าฯ รวมทั้งมีการจัดหา เครื่องจักรอุปกรณ์ที่มีความทันสมัยใชัในการผลิตกระแสไฟฟ้า และมีแผนการบำรุงรักษาเครื่องจักร อุปกรณ์อย่างต่อเนื่อง (2) อัตราผลตอบแทนของโครงการเพื่มกำลังการผลิตของโรงไฟฟ้าชีวมวล โครงการโรงไฟฟ้าด่านช้างไบโอ-เอ็นเนอร์ยี (IRR) คือ 15.16% และมีระยะเวลาในการคืนทุน 6.29 ปี (3) ในด้านผลกระทบต่อชุมชนและสิ่งแวดล้อม กลุ่มตัวอย่างมีความเห็นในระดับมากที่สุดลคือการ เพิ่มกำลังการผลิตของโรงไฟฟ้าชีวมวลไม่ก่อให้เกิดความเดือดร้อน รำคาญต่อชุมชน ในระดับ รองลงมาคือไม่ก่อให้เกิดปัญหาด้านเสียงth_TH
dc.formatapplication/pdfen_US
dc.language.isothth_TH
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.relation.urihttps://www.doi.org/10.14457/STOU.the.2008.97-
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)en_US
dc.rights.urihttps://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/en_US
dc.sourceBorn digitalen_US
dc.subjectโรงไฟฟ้า--แง่สิ่งแวดล้อมth_TH
dc.titleการศึกษาความเป็นไปได้ของโครงการการเพิ่มกำลังการผลิตของโรงไฟฟ้าชีวมวล : กรณีศึกษาโรงไฟฟ้าด่านช้างไบโอ-เอ็นเนอร์ยีth_TH
dc.title.alternativeA feasibility study on increasing the Production Capacity of a Biomass Power Plant : a case study of Dan Chang Bio-Engrgy Power Plantth_TH
dc.typeThesisth_TH
dc.identifier.DOI10.14457/STOU.the.2008.97-
dc.degree.nameบริหารธุรกิจมหาบัณฑิตth_TH
dc.degree.levelปริญญาโทth_TH
dc.degree.disciplineสาขาวิชาวิทยาการจัดการth_TH
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.description.abstractalternativeThe aims of the research were to study (1) the technical readiness of the equipment toward increasing the Production Capacity of a Biomass Power Plant; (2) the Internal Return Rate (IRR) of the project, and (3) the impact of the project on the community and environment. The research methodology was a survey research. The populations were two sample groups, including 3 executive managers from Dan Chang Power Plant, and people living within 5 kilometers of the Power Plant, including 3,518 households from 13 villages. The sample sizes for the research were 3 executive managers and 358 households at 95% confidence level with proportional sampling. The data used were primary and secondary data. The methods for getting data were (1) questionnaire for interviewing 3 executive managers to study the availability of the technical capability and the return rate of the project, and (2) questionnaire for people to study their surrounding communities and the environmental impact on these communities. Statistical methods used for analysis were percentage, standard deviation, chi-square, interested return rate and payback period of increasing the production capacity of Dan Chang Bio-Energy Power Plant. The research found that: (1) Dan Chang Power Plant got technical readiness of the equipment by hiring Alstom Power company from Australia, which was a well-known worldwide company in the field of power plant business, to support a modem power plant and provide good maintenance plans continuously; (2) the Internal Return Rate (IRR) of the project was 15.16% within 6.29 years of the payback period, and (3) most of the people surveyed on the impact to the surrounding community and environment did not believe the increase in the production capacity which would make trouble or annoy the community, followed by these who did not believe it would cause noise pollutionen_US
Appears in Collections:Manage-Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
112208.pdfเอกสารฉบับเต็ม6.78 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons