Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/6849
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorเทพศักดิ์ บุณยรัตพันธุ์, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.advisorสุรพร เสี้ยนสลาย, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.authorกรณ์ ปลอดมณี, 2517--
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สำนักบัณฑิตศึกษาth_TH
dc.date.accessioned2023-06-28T07:13:04Z-
dc.date.available2023-06-28T07:13:04Z-
dc.date.issued2555-
dc.identifier.urihttps://ir.stou.ac.th/handle/123456789/6849-
dc.description.abstractการศึกษาครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) ศึกษาระดับความสำเร็จของการจัดฝึกอบรมด้านช่างให้กับ บุคลากรขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น (2) ศึกษาความแตกต่างของความสำเร็จของการจัดฝึกอบรมด้านช่าง ให้กับบุคลากรขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นแต่ละประเภท (3) ศึกษาปัจจัยที่ส่งผลต่อความสำเร็จของการจัด ฝึกอบรมด้านช่างให้กับบุคลากรขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น (4) เสนอแนะกลยุทธ์การพัฒนาการจัดฝึกอบรม ด้านช่างให้กับบุคลากรขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น รูปแบบการวิจัย เป็นการวิจัยเชิงสำรวจที่เน้นการวิจัยเชิงปริมาณ และผสมผสานกับการวิจัยเชิง คุณภาพ ประชากรที่ศึกษาคือ บุคลากรขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น ที่ผ่านการฝึกอบรมด้านช่าง ที่จัดโดยกรม ทางหลวงชนบท ในเขตพื้นที่สำนักทางหลวงชนบทที่ 1 (ปทุมธานี) ประกอบด้วย 5 จังหวัด คือ ปทุมธานี นนทบุรี สมุทรปราการ พระนครศรีอยุธยา และอ่างทอง จำนวน 383 แห่ง กลุ่มตัวอย่างที่นำมาศึกษาเป็นผู้บริหารและ บุคลากรด้านช่างที่ผ่านการฝึกอบรม จากองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น จำนวน 196 แห่ง แห่งละ 2 คน รวมทั้งสิ้น 392 คน เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยคือ แบบสอบถาม ซึ่งมีค่าความเชื่อมั่นเท่ากับ 0.9303 และการสัมภาษณ์ผู้บริหาร และบุคลากรด้านช่าง แล้ววิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้ค่าสถิติ ได้แก่ การแจกแจงความถี่ ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย เลขคณิตค่า ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และการวิเคราะห์ถดถอยเชิงพหุโดยวิธีขั้นตอน ส่วนการวิเคราะห์ข้อมูลเชิงคุณภาพใช้ การวิเคราะห์ SWOT ผลการวิจัย พบว่า (1) ระดับความสำเร็จของการจัดฝึกอบรมด้านช่างให้กับบุคลากรขององค์กร ปกครองส่วนท้องถิ่น ของกรมทางหลวงชนบท มากกว่าร้อยละ 80 ซึ่งยอมรับสมมติฐานที่ตั้งไว้ (2) องค์กร ปกครองส่วนท้องถิ่น ได้แก่ องค์การบริหารส่วนตำบล (อบต.) มีความต้องการในการพัฒนาบุคลากรด้านช่าง แตกต่างกับเทศบาล อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 ซึ่งสอดคล้องกับสมมติฐานที่ตั้งไว้ (3) สมรรถนะ และ ตัวแปร 3 วงกลม ส่งผลต่อความสำเร็จของการจัดการฝึกอบรมด้านช่างให้กับบุคลากรขององค์กรปกครองส่วน ท้องถิ่น อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 โดยสามารถอธิบายความผันแปรของตัวแปรตามได้ร้อยละ 59.5 (4) กลยุทธ์ในการพัฒนาการจัดฝึกอบรมด้านช่างให้กับบุคลากรขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น คือ ควรปรับปรุง ข้อมูลให้เป็นปัจจุบัน ปรับปรุงเนื้อหาให้ตรงกับความต้องการ จัดทำสื่อออกเผยแพร่แบบออนไลน์ ส่งวิทยากรไป แนะนำในพื้นที่ ปรับเปลี่ยนรูปแบบวิธีการฝึกอบรม สร้างเครือข่าย และช่องทางในการติดต่อกับช่างโดยตรง และ จัดตั้งหน่วยบริการเคลื่อนที่th_TH
dc.formatapplication/pdfen_US
dc.language.isothth_TH
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.relation.urihttps://www.doi.org/10.14457/STOU.the.2012.86en_US
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)en_US
dc.rights.urihttps://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/en_US
dc.sourceBorn digitalen_US
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. แขนงวิชาบริหารรัฐกิจ -- วิทยานิพนธ์th_TH
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาวิทยาการจัดการ -- วิทยานิพนธ์th_TH
dc.subjectองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น -- พนักงาน -- การฝึกอบรมในงานth_TH
dc.titleปัจจัยที่ส่งผลต่อความสำเร็จของการจัดฝึกอบรมด้านช่างให้กับบุคลากรขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นของกรมทางหลวงชนบท : กรณีศึกษาพื้นที่สำนักทางหลวงชนบทที่ 1 (ปทุมธานี)th_TH
dc.title.alternativeFactors affecting the success of the technical training to personnel of the local governments of the Department of Rural Roads : a case study of Bureau of Rural Roads 1 (Pathumthani)th_TH
dc.typeThesisth_TH
dc.degree.nameบริหารธุรกิจมหาบัณฑิตth_TH
dc.degree.levelปริญญาโทth_TH
dc.degree.disciplineสาขาวิชาวิทยาการจัดการth_TH
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.description.abstractalternativeThe purpose of this study were to (1) study level of success of training on mechanics for personnel from local administrative organization (2) study differences in success of training on mechanics for personnel in each type of local administrative organization (3) study factors influencing success of training on mechanics for personnel of local administrative organization and (4) recommend strategies for development of training on mechanics for personnel of local administrative organization. The research design was survey research which focused the quantitative research, as well as the qualitative research. The population for this study were personnels of local administrative organization having passed training on mechanics organized by the Department of Rural Roads, in the area of Bureau of Rural Roads 1 (Pathumthani) covering 5 provinces; Pathumthani, Nonthaburi, Samut Prakan, Phranakhon Si Ayutthaya and Ang Thong, totaling 383 local administrative organizations. The sample group selected for this study consists of the management and mechanical personnel who passed training of 196 local administrative organizations, 2 persons for each organization, totaling 392 persons. Instruments used for this research were the questionnaire with reliability at 0.9303 and the interview with the management and mechanical personnel. Data was analyzed by applying frequency distribution, percentage, mean, standard deviation and stepwise multiple regression analysis while qualitative data analysis applied SWOT analysis. The research result revealed that (1) Level of success of training on mechanics for personnel of local administrative organization by the Department of Rural Roads was more than 80% which demonstrates that hypothesis was accepted (2) Tambon administrative organization’s requirement for the development of mechanical personnel differs from that of municipality with statistical significance of .05 which corresponds with the hypothesis (3) Both variables, competency and 3 circles had influenced the success of training on mechanics for personnel of local administrative organization with statistical significance of .05 which could explain variation of dependent variable at 59.5% (4) Strategies required for improving training on mechanics for personnel of local administrative organization were to update data and adapt the content to fit the need of the attendants, to publicize on online media, to send lecturer for orientation in the area, to modify training pattern, and to develop network and channel for direct contact with the mechanic and set up mobile uniten_US
Appears in Collections:Manage-Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
133902.pdfเอกสารฉบับเต็ม1.82 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons