Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/6855
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorเสน่ห์ จุ้ยโต, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.advisorชินรัตน์ สมสืบ, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.authorไพริน ขันอาสา-
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สำนักบัณฑิตศึกษาth_TH
dc.date.accessioned2023-06-28T07:38:52Z-
dc.date.available2023-06-28T07:38:52Z-
dc.date.issued2550-
dc.identifier.urihttps://ir.stou.ac.th/handle/123456789/6855-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (บธ.ม. (บริหารรัฐกิจ))--มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช, 2550th_TH
dc.description.abstractการวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) สำรวจองค์การแห่งการเรียนรู้ของสำนักงาน คณะกรรมการการอุดมศึกษา ได้แก่ โครงสร้างขององค์การ การมีวิสัยทัศน์ร่วมกัน การเพิ่มอำนาจ และความรับผิดชอบในงาน การจัดการความรู้ การประยุกค์ใช้เทคโนโลยี ทีมงานและเครีอข่าย การ วิเคราะห์สภาพแวดล้อม และ (2) ศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างวัฒนธรรมองค์กรและพฤติกรรมผู้นำ กับองค์การแห่งการเรียนรู้ของสำนักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา กลุ่มตัวอย่างที่ศึกษาเป็น ข้าราชการและเจ้าหน้าที่ของสำนักงานคณะกรรมการการ อุดมศึกษา จำนวน 222 คน เครื่องมีอที่ใชัในการเก็บข้อมูล ใข้แบบสอบถาม วิเคราะห์ข้อมูลโดยใชั ค่าสถิติพื้นฐาน เช่น ค่าเฉลี่ย ค่าร้อยละ ค่าส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน ค่าสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์แบบ เพียร์สัน ผลการวิจัย พบว่า (1) ผู้ตอบแบบสอบถามส่วนใหญ่เป็นเพศหญิง อายุเฉลี่ย 41- 50 ปี ระดับปริญญาตรีหริอเทียบเท่า (ร้อยละ 56.4) ระยะเวลาการทำงานมากกว่า 20 ปี (2) การสำรวจ องค์การแห่งการเรียนรู้ทุกด้านโดยเฉลี่ยอยู่ในระดับปานกลาง และด้านที่นำมาใช้ในการปฏิบัติ สูงสุดได้แก่ ด้านการประยุกค์ใช้เทคโนโลยี ส่วนการวิเคราะห์สภาพแวดล้อมนำมาใช้ในการปฏิบัติ นัอยทีสุด (3) การศึกษาความสัมพันธ์ พบว่า ปัจจัยต้านวัฒนธรรมองค์กรทุกด้านมีความสัมพันธ์กับ องค์การแห่งการเรียน!ในทิศทางเดียวกันระดับมาก ส่วนต้านที่มีความสัมพันธ์ในระดับปานกลาง ไต้แก่ ความสอดกล้องต้องกัน สำหรับปัจจัยต้านพฤติกรรมผู้นำมีความสัมพันธ์กับองค์การแห่งการ เรียน!ในทิศทางเดียวกันระดับปานกลาง ส่วนด้านที่มีความสัมพันธ์กับองค์การแห่งการเรียน!ใน ทิศทางเดียวกันระดับนัอย ได้แก่ ภาวะผู้นำแบบสั่งการและภาวะผู้นำแบบมีส่วนร่วมth_TH
dc.formatapplication/pdfen_US
dc.language.isothth_TH
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.relation.urihttps://www.doi.org/10.14457/STOU.the.2007.343-
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)en_US
dc.rights.urihttps://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/en_US
dc.sourceBorn digitalen_US
dc.subjectวัฒนธรรมองค์การth_TH
dc.subjectองค์กรการเรียนรู้th_TH
dc.titleความสัมพันธ์ระหว่างวัฒนธรรมองค์กรและพฤติกรรมผู้นำกับองค์การแห่งการเรียนรู้ : กรณีศึกษา สำนักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษาth_TH
dc.title.alternativeThe correlation of organizational culture and leader's behavior with learning organization : a case study of the Commission on Higher Educationth_TH
dc.typeThesisth_TH
dc.identifier.DOI10.14457/STOU.the.2007.343-
dc.degree.nameรัฐประศาสนศาสตรมหาบัณฑิตth_TH
dc.degree.levelปริญญาโทth_TH
dc.degree.disciplineสาขาวิชาวิทยาการจัดการth_TH
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.description.abstractalternativeThe purposes of this research were to (1) survey the learning organization of the Commission on Higher Education on the following aspects : organizational structure, sharing of vision, increasing of authority and job responsibility, knowledge management, technology application, teamwork and network, and environmental analysis; and (2) study the correlation of organizational culture and leaders’ behaviors with the learning organization of the Commission on Higher Education. The research sample consisted of 222 officials and employees of the Commission on Higher Education. A questionnaire was employed as the data collecting instrument. Data were analyzed with the use of basic statistics such as the mean, standard deviation, and Pearson correlation coefficient. Research findings revealed that (1) the majority of respondents were females, with average age of 41-50 years old, with bachelor’s degree or equivalent educational level (56.4 percent), with more than 20 years of work duration; (2) all aspects of learning organization surveyed were at the moderate level, the aspect implemented most was technology application while the aspect implemented least was environment analysis (3) as for the study on the correlation, it was found that all aspect of organizational culture factors positively and highly correlated with the learning organization, the aspect that positively and moderately correlated was congruency aspect; on the other hand, leaders’ behavior factors correlated positively and at the moderate level with learning organization; while the factors that correlated positively with learning organization at low level were the directive style leadership and the participative style leadershipen_US
Appears in Collections:Manage-Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
114575.pdfเอกสารฉบับเต็ม6.03 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons