Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/6862
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorยุทธนา ธรรมเจริญ, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.advisorศิริชัย พงษ์วิชัย, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.authorธนพร เรืองพณิชยกุล, 2525--
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สำนักบัณฑิตศึกษาth_TH
dc.date.accessioned2023-06-28T08:02:27Z-
dc.date.available2023-06-28T08:02:27Z-
dc.date.issued2555-
dc.identifier.urihttps://ir.stou.ac.th/handle/123456789/6862-
dc.description.abstractการวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษา (1) ระดับคุณภาพการบริการของบริษัท การบินไทย จำกัด (มหาชน) ตามความคิดเห็นของผู้โดยสารชาวไทย (2) เปรียบเทียบความคิดเห็นของผู้โดยสารเกี่ยวกับระดับ คุณภาพการบริการ จำแนกตามลักษณะส่วนบุคคลของผู้โดยสาร กับระดับคุณภาพการบริการของ บริษัท การบินไทย จำกัด (มหาชน) (3) จุดเด่นในการบริการของบริษัท การบินไทย จำกัด (มหาชน) ตามความคิดเห็น ของผู้โดยสารชาวไทย การวิจัยนี้เป็นการวิจัยเชิงสำรวจ ประชากรคือ ผู้โดยสารชาวไทย ที่ได้รับการบริการจากบริษัท การบินไทย จำกัด (มหาชน) ทั้งสายการบินภายในประเทศและต่างประเทศในช่วงเดือน ตุลาคม 2555 – มกราคม 2556 กำหนดขนาดตัวอย่างจำนวน 400 คน เลือกตัวอย่างแบบเจาะจง เครื่องมือที่ใช้ในการเก็บรวบรวมข้อมูล คือ แบบสอบถามที่มีมาตรวัด วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้โปรแกรมสำเร็จรูป ค่าสถิติที่ใช้ในการวิจัย ได้แก่ การแจกแจง ความถี่ ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และทดสอบสมมติฐานด้วยสถิติที ผลการวิจัยพบว่า กลุ่มตัวอย่างส่วนใหญ่เป็นเพศหญิง มีอายุระหว่าง 36 - 45 ปี มีภูมิลำเนาใน กรุงเทพมหานคร/ปริมณฑล สำเร็จการศึกษาระดับปริญญาตรี เป็นพนักงานบริษัทเอกชนมากที่สุด และ มี สถานภาพโสด มีรายได้มากกว่า 55,000 บาทใช้บริการของสายการบินไทย จำนวน 1- 3 ครั้งต่อปี โดยส่วนใหญ่ ใช้บริการในการเดินทางภายในประเทศไทย (1) ระดับคุณภาพการบริการตามความคิดเห็นของผู้โดยสารชาวไทย อยู่ในระดับดีโดยรวมแยกรายละเอียดแต่ละด้าน จากค่าเฉลี่ยมากที่สุดไปน้อยที่สุดได้ผลดังนี้ ด้านความมั่นใจ ด้านบริการที่สัมผัสได้ด้านการตอบสนอง ด้านความเชื่อถือได้ และด้านความเข้าถึงจิตใจ (2) ผู้โดยสารชาวไทยที่มี อาชีพ รายได้ อายุ ระดับการศึกษาสถานภาพสมรส และจำนวนครั้งที่ใช้บริการ ต่างกันมีความคิดเห็นต่อระดับ คุณภาพการบริการ ต่างกันที่ระดับนัยสำคัญ 0.05 ยกเว้นปัจจัยด้าน เพศ ภูมิลำเนา และสนามบินปลายทางที่ใช้ บริการที่แตกต่างกันมีความคิดเห็นต่อระดับคุณภาพการบริการที่ได้รับไม่ต่างกัน (3) จุดเด่นในการบริการของ บริษัท การบินไทย จำกัด (มหาชน) คือ ด้านพนักงานมากที่สุด รองลงมาคือ ด้านอาหาร ตารางเที่ยวบิน และ เครื่องบิน ตามลำดับth_TH
dc.formatapplication/pdfen_US
dc.language.isothth_TH
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.relation.urihttps://www.doi.org/10.14457/STOU.the.2012.369en_US
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)en_US
dc.rights.urihttps://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/en_US
dc.sourceBorn digitalen_US
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาวิทยาการจัดการ -- วิทยานิพนธ์th_TH
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. แขนงวิชาการตลาด -- วิทยานิพนธ์th_TH
dc.subjectบริษัทการบินไทย จำกัด (มหาชน) -- ความพอใจของผู้ใช้บริการth_TH
dc.subjectบริษัทการบินไทย จำกัด (มหาชน) -- บริการลูกค้าth_TH
dc.titleความคิดเห็นของผู้โดยสารชาวไทยเกี่ยวกับคุณภาพการบริการของบริษัท การบินไทย จำกัด (มหาชน)th_TH
dc.title.alternativeOpinion of Thai passengers toward service quality of Thai Airways Public Company Limitedth_TH
dc.typeThesisth_TH
dc.degree.nameบริหารธุรกิจมหาบัณฑิตth_TH
dc.degree.levelปริญญาโทth_TH
dc.degree.disciplineสาขาวิชาวิทยาการจัดการth_TH
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.description.abstractalternativeThe objectives of this research were (1) to study the feedback received from Thai passengers concerning with the service quality level of Thai Airways Public Company Limited. (2) to compare the feedback received from Thai passengers concerning with the Thai passengers’ personal data and the service quality level of Thai Airways Public Company Limited. (3) to find the strength of Thai Airways Public Company Limited’s service quality. The samples have been collected from 400 Thai passengers who used the service both domestic and international flights during October 2012 – January 2013. The tools used for data collection were service satisfaction questionnaire. Data were analyzed by percentage, mean, Standard Deviation – SD, Independent Sample t-test. The survey found that: the samples of a larger portion are females ages 36- 45 years, stay in Bangkok/perimeter, graduated bachelor's degree, employee, single, monthly income more than 55,000 bath, 1-3 times of service usage, the destination of the airport in domestic; (1) the service quality level Thai passengers received were high levels in assurance, tangibility, responsiveness, reliability and empathy. (2) Thai passengers who have differences in occupation, monthly income, age, level of education, marital status and the frequency of service usage were affected by the opinion of Thai passengers toward service quality level at significant level 0.05. The opinion towards service quality level of Thai Airways International of most who answered the questionnaires are not different in gender, location, and destination. (3) the service prominent point level Thai passengers of Thai Airways Public Company Limited received was high levels in staff, food, flight schedule and planeen_US
Appears in Collections:Manage-Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
134116.pdfเอกสารฉบับเต็ม2.33 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons