Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/686
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorช่อทิพย์ บรมธนรัตน์, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.advisorวรางคณา จันทร์คง, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.authorจิลาวัณย์ ชื่นรุ่งโรจน์, 2512--
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สำนักบัณฑิตศึกษาth_TH
dc.date.accessioned2022-08-17T11:04:48Z-
dc.date.available2022-08-17T11:04:48Z-
dc.date.issued2555-
dc.identifier.urihttp://ir.stou.ac.th/handle/123456789/686-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (ส.ม.(สาธารณสุขศาสตร์))--มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช, 2555th_TH
dc.description.abstractการวิจัยเชิงสำรวจครั้งนี้ มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษา (1) ปัจจัยด้านบุคคล ปัจจัยด้านงาน และปัจจัยสนับสนุนการปฏิบัติงาน (2) แรงจูงใจในการปฏิบัติงานของเจ้าพนักงานทันตสาธารณสุข (3) ความสัมพันธ์ระหว่างปัจจัยด้านบุคคล ปัจจัยด้านงาน และปัจจัยสนับสนุนการปฏิบัติงาน กับแรงจูงใจในการปฏิบัติงานของเจ้าพนักงานทันตสาธารณสุขในสถานบริการสาธารณสุขเขตตรวจราชการกระทรวงสาธารณสุขที่ 17 และ (4) ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะในการปฏิบัติงานของเจ้าพนักงานทันตสาธารณสุข ประชากรที่ศึกษา คือ เจ้าพนักงานทันตสาธารณสุขที่ปฏิบัติงานในสถานบริการสาธารณสุขเขตตรวจราชการกระทรวงสาธารณสุขที่ 17 ใน 5 จังหวัด คือ เพชรบูรณ์ พิษณุโลก อุตรดิตถ์ สุโขทัย และตาก จำนวนทั้งหมด 245 คน จำนวนตัวอย่าง 215 คน ใช้วิธีการสุ่มตัวอย่างแบบง่าย เก็บรวบรวบรวมข้อมูลโดยใช้แบบสอบถาม ซึ่งมีค่าความเที่ยงเท่ากับ 0.93 สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ ร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน การทดสอบไคสแควร์ และสัมประสิทธี์สหสัมพันธ์ของเพียร์สัน ผลการวิจัยพบว่า (1) ปัจจัยด้านบุคคลส่วนใหญ่เป็นเพศหญิง มีอายุเฉลี่ย 34 ปี สถานภาพสมรสโสด การศึกษาระดับปริญญาตรี มีรายได้เฉลี่ย 16,598 บาท ระยะเวลาปฏิบัติงานเฉลี่ย 13 ปี ปัจจัยด้านงานส่วนใหญ่เป็น ข้าราชการระดับชำนาญงานร้อยละ 60 ปฏิบัติงานเฉพาะในเวลาราชการร้อยละ 52 และพื้นที่ปฏิบัติงานอยู่ในโรงพยาบาล ส่งเสริมสุขภาพระดับตำบล ร้อยละ 47 ปัจจัยสนับสนุนการปฏิบัติงานของเจ้าพนักงานทันตสาธารณสุข ส่วนใหญ่ได้รับการสนับสนุนวัสดุครุภัณฑ์ในการปฏิบัติงานทุกอย่าง ร้อยละ 88 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณอย่างเหมาะสม ร้อยละ 73 และได้รับกราฟฟิกอบรมเพิ่มเติมเป็นบางครั้ง ร้อยละ 66 (2) แรงจูงใจในการปฏิบัติงานของเจ้าพนักงานทันตสาธารณสุข อยู่ในระดับปานกลาง (3) ปัจจัยที่มีความสัมพันธ์กับแรงจูงใจในการปฏิบัติงาน อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ (p<0.05) คือ ปัจจัยสนับสนุนการปฏิบัติงาน ได้แก่ วัสดุอุปกรณ์ที่อำนวยความสะดวกในการปฏิบัติงานภายในหน่วยงาน กราฟฟิกอบรมเพิ่มเติมตามหลักสูตรต่างๆ ของกระทรวงสาธารณสุข และความร่วมมือจากประชาชนในพื้นที่การปฏิบัติงาน และ (4) ปัญหาอุปสรรคที่สำคัญคือขาดกำลังคนในตำแหน่งเจ้าพนักงานทันตสาธารณสุขและทันตแพทย์เงินเดือนค่าตอบแทนและสวัสดิการน้อยไม่สอดคล้องกับการปฏิบัติงาน และขาดความก้าวหน้าในสายงาน ข้อเสนอแนะต่อผู้บริหารสาธารณสุข คือ ควรเพิ่มอัตรากำลังบุคลากรตำแหน่งเจ้าพนักงานทันตสาธารณสุขและทันตแพทย์ เพิ่มเงินเดือน ค่าตอบแทนและสวัสดิการให้สอดคล้องกับปริมาณงานและตามวุฒิการศึกษา เปิดโอกาสให้เจ้าพนักงานทันตสาธารณสุขศึกษาต่อจนถึงระดับปริญญาตรีและเพิ่มโอกาสก้าวหน้าในสายงานให้เท่าเทียมกับวิชาชีพอื่นth_TH
dc.formatapplication/pdfen_US
dc.language.isothth_TH
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.relation.urihttps://www.doi.org/10.14457/STOU.the.2012.353-
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)en_US
dc.rights.urihttps://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/en_US
dc.sourceBorn digitalen_US
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาวิทยาศาสตร์สุขภาพ--วิทยานิพนธ์th_TH
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. แขนงวิชาสาธารณสุขศาสตร์--วิทยานิพนธ์th_TH
dc.subjectการจูงใจในการทำงานth_TH
dc.subjectสถานบริการสาธารณสุข--การบริหารงานบุคคลth_TH
dc.titleปัจจัยที่มีความสัมพันธ์กับแรงจูงใจในการปฏิบัติงานของเจ้าพนักงานทันตสาธารณสุขในสถานบริการสาธารณสุข เขตตรวจราชการกระทรวงสาธารณสุขที่ 17th_TH
dc.title.alternativeFactors related to the work motivation of dental health auxiliaries at Public Health Services in Ministry of Public Health Inspection Region 17th_TH
dc.typeThesisth_TH
dc.identifier.DOI10.14457/STOU.the.2012.353-
dc.degree.nameสาธารณสุขศาสตรมหาบัณฑิตth_TH
dc.degree.levelปริญญาโทth_TH
dc.degree.disciplineสาขาวิชาวิทยาศาสตร์สุขภาพth_TH
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.description.abstractalternativeThe purposes of this survey research were to: (1) determine the personal factors, work-related and work-support factors of dental health officers; (2) identify the work motivation of dental health auxiliaries; (3) analyze the relationship between personal factors, work-related factors and work-support factors, and work motivation of dental health auxiliaries at public health services in ministry of public health inspection region 17; and (4) identify problems, obstacles and recommendation for better performance of dental health auxiliaries. The study was conducted in a sample of 215 dental health auxiliaries selected using the simple random sampling method from all 245 dental health auxiliaries who work in public health services in ministry of public health inspection region 17. Data were collected by using a questionnaire with reliability value of 0.93. Statistics used for data analysis were percentage, mean, standard deviation, chi-square test and Pearson product moment correlation coefficient. The results revealed the: (1) most of respondents were single female with the average age of 34 years, a bachelor's degree background, average income of 16,598 baht, and average year of 13 years of experience; most of work-related factors were civil servants at the experienced level (60%), working only during official hours (52%), and working at sub-district health promoting hospital (47 %); work-support factors full material and supply support (88 %), appropriate budget (73.1 %), and occasional in-service training (66'%); (2)the work motivation of dental health officers were at a moderate; (3) the factors significantly associated with their work motivation were work-support factors (p<.05), including the facilities as well as convenience for in-site operations, added education following the various curriculum of ministry of public health, and community participation in working areas; and (4) the major problems and obstacles were the shortages of manpower, especially in dental health officers and dentists, the low salary, compensation and welfare that were inappropriate with workload, and lack of career advancement. The recommendation for health administrators should provide more dental personnel, raise salaries as well as remuneration and welfare services commensurate with their workload and education qualifications. Moreover, opportunities should be opened for further education to the bachelor’s degree level and career advancement like those for other professionalsen_US
Appears in Collections:Health-Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
130828.pdfเอกสารฉบับเต็ม14.7 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons