Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/6878
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorปภาวดี มนตรีวัต, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.advisorรังสรรค์ ประเสริฐศรี, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.authorจิราวรรณ วรวณิชย์สกุล, 2518--
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สำนักบัณฑิตศึกษาth_TH
dc.date.accessioned2023-06-29T00:43:14Z-
dc.date.available2023-06-29T00:43:14Z-
dc.date.issued2555-
dc.identifier.urihttps://ir.stou.ac.th/handle/123456789/6878-
dc.description.abstractการวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษา (1) ประสิทธิผลในการปฏิบัติงานของข้าราชการ กรมส่งเสริมการเกษตรในภาคตะวันออกเฉียงเหนือ (2) ปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อประสิทธิผลในการปฏิบัติงาน ของข้าราชการกรมส่งเสริมการเกษตรในภาคตะวันออกเฉียงเหนือ และ (3) ข้อเสนอแนะแนวสร้างเสริม ประสิทธิผลในการปฏิบัติงานของข้าราชการกรมส่งเสริมการเกษตรในภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ประชากรที่ใช้ในการศึกษา ได้แก่ ข้าราชการกรมส่งเสริมการเกษตรในพื้นที่สำนักงาน เกษตรจังหวัด และสำนักงานเกษตรอำเภอในภาคตะวันออกเฉียงเหนือ 19 จังหวัด จำนวน 3,075 คน ได้กลุ่มตัวอย่าง จำนวน 354 คน โดยใช้แบบสอบถามเป็นเครื่องมือในการวิจัย สุ่มตัวอย่างแบบง่าย สถิติที่ ใช้คือ ค่าความถี่ ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และการวิเคราะห์ถดถอยเชิงพหุ ผลการวิจัยพบว่า (1) ประสิทธิผลในการปฏิบัติงานอยู่ในระดับมาก โดยด้านที่มีค่าเฉลี่ย สูงสุด ได้แก่ ด้านการปรับตัว และด้านที่มีค่าเฉลี่ยต่ำที่สุด ได้แก่ ด้านการบรรลุเป้าหมาย (2) ปัจจัยที่มี อิทธิพลต่อประสิทธิผลในการปฏิบัติงานของข้าราชการกรมส่งเสริมการเกษตรในเขตภาคตะวันออกเฉียงเหนือ พบว่า โครงสร้าง เทคโนโลยี สภาพแวดล้อม และนโยบายการปฏิบัติงาน มีอิทธิพลต่อประสิทธิผลใน การปฏิบัติงาน อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05 (3) ข้อเสนอแนะสำคัญ ได้แก่ ด้านโครงสร้างองค์กร ควรมีการมอบหมายงานให้กับเจ้าหน้าที่ไว้อย่างชัดเจนและเป็นธรรม โดยพิจารณาจากความรู้ ความสามารถของเจ้าหน้าที่ ด้านเทคโนโลยี ควรมีการจัดทำคู่มือในการปฏิบัติงานที่ชัดเจนและเป็น รูปธรรมสามารถนำไปปฏิบัติได้ ด้านสภาพแวดล้อม ควรมีการปรับปรุงสถานที่ในการปฏิบัติงานเพื่อให้เกิด บรรยากาศที่ดีในการปฏิบัติงาน และด้านนโยบายการปฏิบัติงาน ควรมีการเปิดโอกาสให้เจ้าหน้าที่ ผู้ปฏิบัติงานได้มีส่วนร่วมในการวางแผนการปฏิบัติงาน และการลงมือทำ เพื่อเป็นการสร้างจิตสำนึกที่ดี ร่วมกันในการปฏิบัติงานในองค์กรth_TH
dc.formatapplication/pdfen_US
dc.language.isothth_TH
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.relation.urihttps://www.doi.org/10.14457/STOU.the.2012.297en_US
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)en_US
dc.rights.urihttps://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/en_US
dc.sourceBorn digitalen_US
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาวิทยาการจัดการ -- วิทยานิพนธ์th_TH
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. แขนงวิชาบริหารรัฐกิจ -- วิทยานิพนธ์th_TH
dc.subjectกรมส่งเสริมการเกษตรในภาคตะวันออกเฉียงเหนือ -- ข้าราชการth_TH
dc.subjectการทำงานth_TH
dc.titleปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อประสิทธิผลในการปฏิบัติงานของข้าราชการ กรมส่งเสริมการเกษตรในภาคตะวันออกเฉียงเหนือth_TH
dc.title.alternativeFactors Influencing the operational effectiveness of Civil Officials of the Department of Agricultural Extension in Northeastern Regionth_TH
dc.typeThesisth_TH
dc.degree.nameบริหารธุรกิจมหาบัณฑิตth_TH
dc.degree.levelปริญญาโทth_TH
dc.degree.disciplineสาขาวิชาวิทยาการจัดการth_TH
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.description.abstractalternativeThe objectives of this research were to study (1) operational effectiveness of Civil Officials of the Department of Agricultural Extension in Northeastern Region (2) factors influencing the operational effectiveness of Civil Officials of the Department of Agricultural Extension in Northeastern Region (3) recommendation to enhance the operational effectiveness of Civil Officials of the Department of Agricultural Extension in Northeastern Region. Population comprised 3,075 civil officials of Provincial and District Agricultural Offices in 19 provinces in Northeastern Region from which 354 samples were obtained. Instrument used was questionnaire. Simple sampling method was applied. Statistical tools employed were frequency, percentage, mean, standard deviation, and multiple regression analysis. Research results revealed that (1) operational effectiveness of the Department of Agricultural Extension’s Civil Officials in Northeastern Region was at high level with the highest mean on adjustment and the lowest mean on goal accomplishment (2) factors influencing the operational effectiveness were structure, technology, environment and operation policy with 0.05 level of statistical significance (3) major recommendations were: on organizational structure, job assignment should be done clearly and impartially with consideration on knowledge and ability of the officials; on technology, clear and practical operation manual should be provided; on environment, facilities should be renovated to foster comfortable work atmosphere; on operation policy, opportunities should be provided to officials to participate in operational planning so to enhance common work consciousness and esprit de corps among the officialsen_US
Appears in Collections:Manage-Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
134784.pdfเอกสารฉบับเต็ม1.37 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons