Please use this identifier to cite or link to this item:
https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/6881
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.advisor | นราธิป ศรีราม | th_TH |
dc.contributor.author | มงคล ธิดาธัญลักษณ์, 2515- | th_TH |
dc.contributor.other | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สำนักบัณฑิตศึกษา | th_TH |
dc.date.accessioned | 2023-06-29T01:06:06Z | - |
dc.date.available | 2023-06-29T01:06:06Z | - |
dc.date.issued | 2555 | - |
dc.identifier.uri | https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/6881 | en_US |
dc.description.abstract | การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) ศึกษาความคิดเห็นเกี่ยวกับระดับการปฏิบัติงานแบบมุ่งผลสัมฤทธิ์ของข้าราชการในสำนักงานวัฒนธรรมจังหวัด (2) ศึกษาความคิดเห็นเกี่ยวกับปัจจัยองค์การที่มีผลต่อการปฏิบัติงานแบบมุ่งผลสัมฤทธิ์ของข้าราชการในสำนักงานวัฒนธรรมจังหวัด (3) เปรียบเทียบความคิดเห็นเกี่ยวกับการปฏิบัติงานแบบมุ่งผลสัมฤทธิ์จำแนกตามปัจจัยบุคคล (4) ศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างปัจจัยด้านองค์การกับการปฏิบัติงานแบบมุ่งผลสัมฤทธิ์ (5) ศึกษาปัญหาและข้อเสนอแนะเพื่อสร้างเสริมการปฏิบัติงานแบบมุ่งผลสัมฤทธิ์ของข้าราชการในสำนักงานวัฒนธรรมจังหวัด การศึกษาครั้งนี้เป็นการวิจัยเชิงสำรวจ กลุ่มตัวอย่างจำนวน 391 คน คำนวณจากประชากร จำนวน 1,565 คน เป็นข้าราชการในสังกัดสำนักงานวัฒนธรรมจังหวัด เครื่องมือได้แก่ แบบสอบถาม สุ่มตัวอย่างแบบบังเอิญ ส่วนสถิติที่นำมาใช้ คือ ค่าความถี่ ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย ค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน ค่าสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์ และการวิเคราะห์ถดถอยพหุคูณ ผลการศึกษาพบว่า (1) กลุ่มตัวอย่างมีความคิดเห็นเกี่ยวกับระดับการปฏิบัติงานแบบมุ่งผลสัมฤทธิ์ ของข้าราชการในสำนักงานวัฒนธรรมจังหวัด โดยภาพรวมอยู่ในระดับมาก ด้านที่มีค่าเฉลี่ยสูงสุด ได้แก่ ด้านการกำหนดเป้าหมายและการปฏิบัติงาน ส่วนด้านที่มีค่าเฉลี่ยต่าสุด ได้แก่ ด้านการจัดสรรงบประมาณ (2) ความคิดเห็นเกี่ยวกับปัจจัยองค์การโดยภาพรวมอยู่ในระดับมาก ด้านที่มีค่าเฉลี่ยสูงสุดได้แก่ด้านค่านิยมร่วม ส่วนด้านที่มีค่าเฉลี่ยต่ำสุดได้แก่ด้านโครงสร้าง (3) กลุ่มตัวอย่างที่มีเพศ อายุ การศึกษา และระยะเวลาการปฏิบัติงานต่างกัน มีความคิดเห็นเกี่ยวกับการปฏิบัติงานแบบมุ่งผลสัมฤทธิ์แตกต่างกัน อย่างมีนัยสำคัญที่ระดับ0.05 (4 ) ปัจจัยด้านโครงสร้าง บุคลากร และกลยุทธ์ มีความสัมพันธ์ทางบวกต่อการปฏิบัติงานแบบมุ่งผลสัมฤทธิ์ และส่งผลโดยสามารถพยากรณ์การปฏิบัติงานแบบมุ่งผลสัมฤทธิ์ได้ร้อยละ 49.6 (๕) ปัญหาสำคัญที่เป็นอุปสรรคต่อการปฏิบัติงานแบบมุ่งผลสัมฤทธิ์ ได้แก่ ด้านการจัดการ รองลงมาได้แก่ด้านบุคลากร แนวทางแก้ไขได้แก่ องค์การควรวิเคราะห์ปริมาณงานและอัตรากำลัง และกำหนดอัตรากาลังให้เหมาะสมกับภารกิจ และควรพิจารณาประเมินผลการปฏิบัติงานโดยอิงผลสัมฤทธิ์ของงานเป็นหลัก | th_TH |
dc.format | application/pdf | en_US |
dc.language.iso | th | en_US |
dc.publisher | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช | th_TH |
dc.relation.uri | https://www.doi.org/10.14457/STOU.the.2012.64 | en_US |
dc.rights | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช | th_TH |
dc.rights | Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0) | en_US |
dc.rights.uri | https://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/ | en_US |
dc.source | Born digital | en_US |
dc.subject | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาวิทยาการจัดการ--วิทยานิพนธ์ | th_TH |
dc.subject | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. แขนงวิชาบริหารรัฐกิจ--วิทยานิพนธ์ | th_TH |
dc.subject | สำนักงานวัฒนธรรมจังหวัด--ข้าราชการ | th_TH |
dc.subject | การทำงาน | th_TH |
dc.title | ปัจจัยที่มีผลต่อการปฏิบัติงานแบบมุ่งผลสัมฤทธิ์ของข้าราชการในสังกัดสำนักงานวัฒนธรรมจังหวัด | th_TH |
dc.title.alternative | Factors affecting result based operation of the Government Officers at the Provincial Culture Office | th_TH |
dc.type | Thesis | th_TH |
dc.identifier.DOI | 10.14457/STOU.the.2012.64 | - |
dc.identifier.url | https://www.doi.org/10.14457/STOU.the.2012.64 | en_US |
dc.degree.name | บริหารธุรกิจมหาบัณฑิต | th_TH |
dc.degree.level | ปริญญาโท | th_TH |
dc.degree.discipline | สาขาวิชาวิทยาการจัดการ | th_TH |
dc.degree.grantor | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช | th_TH |
dc.description.abstractalternative | This research aimed to (1) study officers’ pinions on result based operational level of government officers at the Provincial Culture Office, (2) study officers’ opinions on organizational factors that affected the result based operation of government officers at the Provincial Culture Office, (3) compare opinions on result based operation of government officers at the Provincial Culture Office classified by personal factors, (4) study the relationship between organizational factors and result based operation, and (5) study problems and recommend appropriate ways to enhance result based operation of government officers at the Provincial Culture Office. This study was a survey research. Samples were 391 officers derived from total population of 1,565 government officers at the Provincial Culture Office. Questionnaire was used as research instrument. Accidental sampling method was applied. Frequency, percentage, mean, standard deviation, correlation coefficient, and multiple regression analysis were employed to analyze the data. The study showed the following results (1) the overall officers’ opinions on result based operation were at high level with the highest mean on goal setting, and the lowest mean on budget allocation. (2) opinions on of organizational factors, in the overall view were at high level, with the highest mean on shared value, and the lowest mean on structure (3) samples with different genders, ages, educational levels, and operational duration had different opinions on result based operation at 0.05 level of statistical significance (4) factors of structure, staff, and strategy had positive relations with result based operation, and could predict the operation at 49.6 percent (5) first major problem was management aspect, next was problem on personnel, recommendations were: the organization should analyze both its workload and workforce, and allocate workforce in accordance with assigned mission, moreover, performance appraisal should be conducted on the basis of the officers’ operational achievement. | en_US |
dc.contributor.coadvisor | ปภาวดี มนตรีวัต | th_TH |
Appears in Collections: | Manage-Theses |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
134787.pdf | เอกสารฉบับเต็ม | 2.62 MB | Adobe PDF | View/Open |
This item is licensed under a Creative Commons License