Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/689
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorวรางคณา ผลประเสริฐ, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.advisorช่อทิพย์ บรมธนรัตน์, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.authorจารุวรรณ จุลสัตย์, 2515--
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สำนักบัณฑิตศึกษาth_TH
dc.date.accessioned2022-08-17T11:17:53Z-
dc.date.available2022-08-17T11:17:53Z-
dc.date.issued2553-
dc.identifier.urihttp://ir.stou.ac.th/handle/123456789/689-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (ส.ม.(สาธารณสุขศาสตร์))--มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช, 2553th_TH
dc.description.abstractการวิจัยเชิงวิเคราะห์นี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษา (1) ปัจจัยส่วนบุคคล ปัจจัยจูงใจ ปัจจัยคํ้าจุน และระดับผลการปฏิบัติงานตามมาตรฐานวิชาชีพเภสัชกรรม (2) อิทธิพลของปัจจัยต่างๆ ต่อผลการปฏิบัติงานตามมาตรฐานวิชาชีพเภสัชกรรม และ (3) ปัญหา อุปสรรคและข้อเสนอแนะเกี่ยวกับปัจจัยที่มีผลต่อการปฏิบัติงานตามมาตรฐานวิชาชีพเภสัชกรรมของเภสัชกรในโรงพยาบาลชุมชน เขตตรวจราชการสาธารณสุขที่ 6 ประชากรในการวิจัย ได้แก่ เภสัชกรที่ปฏิบัติงานในโรงพยาบาลชุมชน เขตตรวจราชการสาธารณสุขที่ 6 ทุกคน จำนวน 156 คน เครื่องมือที่ใช้เป็นแบบสอบถามที่มีค่าความเที่ยงเท่ากับ 0.93 ได้รับแบบสอบถามคืน 126 ชุด คิดเป็นร้อยละ 80.7 สถิติที่ใช้ ได้แก่ ค่าเฉลี่ย ร้อยละส่วนเที่ยงเบนมาตรฐานและการวิเคราะห์การถดถอยพหุแบบขั้นตอน ผลการวิจัยพบว่า (1) เภสัชกรที่ปฏิบัติงานในโรงพยาบาลชุมชนเขตตรวจราชการสาธารณสุขที่ 6 ส่วนใหญ่เป็นเพศหญิง อายุเฉลี่ย 33.33 ปี สถานภาพโสด ระดับการศึกษาสูงสุด ปริญญาโท ประสบการณ์ทำงานเฉลี่ย 9.22 ปี การปฏิบัติงานตามมาตรฐานวิชาชีพเภสัชกรรมอยู่ในระดับสูง ปัจจัยจูงใจอยู่ในระดับสูง ส่วนปัจจัยคํ้าจุนอยู่ในระดับปานกลาง (2) ปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อผลการปฏิบัติงานตามมาตรฐานวิชาชีพเภสัชกรรมได้อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.001 ได้แก่ปัจจัยจูงใจและปัจจัย คํ้าจุนโดยร่วมกันพยากรณ์ผลการปฏิบัติงานตามมาตรฐานวิชาชีพเภสัชกรรมไต้ร้อยละ 30.70 และ (3) ปัญหาอุปสรรคในการปฏิบัติงานที่สำคัญได้แก่ความยุ่งยากในการปฏิบัติงานด้านการส่งเสริมการใช้ยา อย่างสมเหตุสมผลข้อเสนอแนะคือผู้บริหารควรกำหนดให้การปฏิบัติงานต้านการส่งเสริมการใช้ยาอย่างสมเหตุสมผลและการศึกษาวิจัยเป็นนโยบายระดับโรงพยาบาล มีผู้รับผิดชอบชัดเจนมีแผนการดำเนินงานและติดตามผลการดำเนินงาน ควรส่งเสริมสนับสนุนให้มีความก้าวหน้าในตำแหน่งเภสัชกร รวมถึงการพิจารณาเลื่อนขั้น เลื่อนตำแหน่งตามผลการปฏิบัติงานth_TH
dc.formatapplication/pdfen_US
dc.language.isothth_TH
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)en_US
dc.rights.urihttps://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/en_US
dc.sourceBorn digitalen_US
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาวิทยาศาสตร์สุขภาพ--วิทยานิพนธ์th_TH
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. แขนงวิชาสาธารณสุขศาสตร์--วิทยานิพนธ์th_TH
dc.subjectการจูงใจในการทำงานth_TH
dc.subjectเภสัชกร--ความพอใจในการทำงานth_TH
dc.subjectการทำงานth_TH
dc.titleปัจจัยที่มีผลต่อการปฏิบัติงานตามมาตรฐานวิชาชีพเภสัชกรรมของเภสัชกรในโรงพยาบาลชุมชน เขตตรวจราชการสาธารณสุขที่ 6th_TH
dc.title.alternativeFactors affecting pharmance in community hospitals in Public Health Inspection Region 6th_TH
dc.typeThesisth_TH
dc.degree.nameสาธารณสุขศาสตรมหาบัณฑิตth_TH
dc.degree.levelปริญญาโทth_TH
dc.degree.disciplineสาขาวิชาวิทยาศาสตร์สุขภาพth_TH
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.description.abstractalternativeThe purposes of this analytical research were: (1) to determine the personal, motivation and maintenance factors that affect pharmacist performance; (2) determine influences of main factors related to pharmacist performance; and (3) identify the problems of and suggestions for improving of The results showed that: (1) Most of the pharmacists were female with an average age of 33.33 years; most of them were single and had completed a master’s degree; their average length of service was 9.22 years; and their overall performance score was at a high level; the level of motivation factors was high while that for maintenance factors was moderate. (2) The factors that significantly influenced pharmacist performance were motivation and maintenance factors (p =0.001); such factors could 30.70% predict pharmacist performance. (3) There were difficulties in promoting of rational drug use. Thus, the administrators concerned should set a policy on rational drug use for the hospitals and support research on this matter, assign responsible officers, draw up a plan of action as well as a monitoring system related to such a matter, and support career advancement including annual salaiy increase for pharmacists according to their performanceen_US
Appears in Collections:Health-Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
125067.pdfเอกสารฉบับเต็ม14.24 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons