Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/6914
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorกิ่งพร ทองใบth_TH
dc.contributor.authorธีรโชติ ครัวจัตุรัสth_TH
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สำนักบัณฑิตศึกษาth_TH
dc.date.accessioned2023-06-29T06:52:46Z-
dc.date.available2023-06-29T06:52:46Z-
dc.date.issued2552-
dc.identifier.urihttps://ir.stou.ac.th/handle/123456789/6914-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (บธ.ม. (บริหารรัฐกิจ))--มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช, 2552th_TH
dc.description.abstractการวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อศึกษาระดับการรับรู้ของพนักงานต่อระบบรักษาความปลอดภัยของบริษัท การบินไทย จำกัด (มหาชน) ณ ท่าอากาศยานสุวรรณภูมิ (2) เพื่อศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างลักษณะส่วนบุคคลกับระดับการรับรู้ของพนักงานต่อระบบรักษาความปลอดภัย (3) เพื่อศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างความรู้ด้านความมั่นคงการบินของพนักงานกับระดับการรับรู้ของพนักงานต่อระบบรักษาความปลอดภัย และ (4) เพื่อเสนอแนะแนวทางในการปรับปรุงระดับการรับรู้ของพนักงานต่อระบบรักษาความปลอดภัยของบริษัท การบินไทย จำกัด (มหาชน) ณ ท่าอากาศยานสุวรรณภูมิ การวิจัยครั้งนี้เป็นการวิจัยเชิงสำรวจ ประชากรคือ พนักงานของบริษัท การบินไทย จำกัด (มหาชน) ที่ปฏิบัติงาน ณ ท่าอากาศยานสุวรรณภูมิ จำนวน 18,602 คน ใช้วิธีสุ่มตัวอย่างแบบเชิงชั้นได้กลุ่มตัวอย่างจำนวน 400 คน เครื่องมือในการวิจัยใช้แบบสอบถาม วิเคราะห์ข้อมูลด้วยค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย ค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน การวิเคราะห์ ความแปรปรวนแบบทางเดียว การทดสอบที การทดสอบเอฟ การทดสอบค่าเฉลี่ยเป็นรายคู่และการทดสอบเพียร์สันไค-สแควร์ ผลการวิจัยพบว่า (1) พนักงานของบริษัท การบินไทย จำกัด (มหาชน) ที่ปฏิบัติงาน ณ ท่าอากาศยานสุวรรณภูมิ มีระดับการรับรู้ต่อระบบรักษาความปลอดภัยอยู่ในระดับดี (2) ปัจจัยส่วนบุคคลในส่วนของอายุ ตำแหน่งงานและอายุงานมีความสัมพันธ์ต่อการรับรู้ของพนักงานต่อระบบรักษาความปลอดภัยอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ ณ ระดับนัยสำคัญ 0.05 (3) ความรู้ด้านความมั่นคงการบินไม่มีความสัมพันธ์กับการรับรู้ของพนักงานต่อระบบรักษาความปลอดภัยของบริษัท การบินไทย จำกัด (มหาชน) ณ ท่าอากาศยานสุวรรณภูมิ และ (4) ข้อเสนอแนะจากการวิจัยคือ ผู้บริหารของบริษัท การบินไทย จำกัด (มหาชน) ควรให้ความสำคัญกับการฝึกอบรมความรู้ด้านความมั่นคงการบินกับพนักงานที่มีอายุอยู่ระหว่าง 20-30 ปี มีตำแหน่งงานเป็นพนักงานทั่วไป (ระดับ 1-4)หรือที่มีอายุงานน้อยกว่า 5 ปีth_TH
dc.formatapplication/pdfen_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.relation.urihttps://www.doi.org/10.14457/STOU.the.2009.115en_US
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)en_US
dc.rights.urihttps://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/en_US
dc.sourceBorn digitalen_US
dc.subjectการรักษาความปลอดภัยth_TH
dc.titleการรับรู้ของพนักงานต่อระบบรักษาความปลอดภัยของบริษัทการบินไทย จำกัด (มหาชน) ณ ท่าอากาศยานสุวรรณภูมิth_TH
dc.title.alternativePerception of employees towards aviation security system of Thai Airways International Public Company Limited at Suvarnabhumi International Airportth_TH
dc.typeThesisth_TH
dc.identifier.DOI10.14457/STOU.the.2009.115-
dc.identifier.urlhttps://www.doi.org/10.14457/STOU.the.2009.115en_US
dc.degree.nameบริหารธุรกิจมหาบัณฑิตth_TH
dc.degree.levelปริญญาโทth_TH
dc.degree.disciplineสาขาวิชาวิทยาการจัดการth_TH
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.description.abstractalternativeThe objectives of this research were: (1) to study the perception level of employees on aviation security system of Thai Airways International Public Company Limited at Suvamnabhumi International Airport; (2) to study the relationship between personal characteristic factors of employees and the level of employee perception on the security system; (3) to study the relationship between aviation security knowledge of employees and the level of employee perception on the security system; and (4) to recommend improvement of the perception level of employees on aviation security system of Thai Airways International Public Company Limited at Suvamnabhumi International Airport. This research was survey research. The population was 18,602 employees of Thai Airways International Public Company Limited at Suvamnabhumi International Airport. The samples consisted of 400 employees using stratified random sampling. The instrument used for collecting data was a questionnaire. Statistical analysis were percentage, mean, standard deviation, One-Way ANOVA, t-test, F-test, Multiple Comparison and Pearson Chi-Square. The result of the research revealed as followings: (1) the perception level of the employees on the security system was at the good level; (2) personal characteristic factors of the employees in terms of age, position and year of employment were related to employees perception on the aviation security system with statistical significance at 0.05; (3) aviation security knowledge of the employees was not related to the perception on the aviation security system of Thai Airways International Public Company Limited at Suvamnabhumi International Airport; and (4) the recommendation was that the management of Thai Airways International Public Company Limited should provide aviation security training courses for employees who were between 20-30 years of age with the position level 1-4 or less than 5 years of employment.en_US
dc.contributor.coadvisorราณี อิสิชัยกุลth_TH
Appears in Collections:Manage-Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
114858.pdfเอกสารฉบับเต็ม3.82 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons