Please use this identifier to cite or link to this item:
https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/6915
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.advisor | ภาวิน ชินะโชติ | th_TH |
dc.contributor.author | ทิพาพร ยิ้มวิลัย, 2506- | th_TH |
dc.contributor.other | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาวิทยาการจัดการ | th_TH |
dc.date.accessioned | 2023-06-29T06:54:44Z | - |
dc.date.available | 2023-06-29T06:54:44Z | - |
dc.date.issued | 2560 | - |
dc.identifier.uri | https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/6915 | en_US |
dc.description.abstract | การศึกษาครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) ศึกษาระดับแรงจูงใจในการปฏิบัติงานของ บุคลากรสำนักงานเศรษฐกิจอุตสาหกรรม (2) เปรยบเทียบแรงจูงใจในในการปฏิบัติงานของ บุคลากรสำนักงานเศรษฐกิจอุตสาหกรรมจำแนกตามลักษณะบุคคล และ (3) เปรียบเทียบระดับ แรงจูงใจของบุคลาการสายงานวิชาการ และบุคลากรสายงานสนับสนุนnการศึกษาครั้งนี้เป็นการวิจัยเชิงสำรวจ ประชากรที่ใช้ในการศึกษา คือ ข้าราชการ ลูกจ้างประจำ พนักงานราชการ จำนวน 148 คน กำหนดขนาดกลุ่มตัวอย่างจากการคำนวณตามสูตร ของ เครซี่ และมอร์แกน ได้จำนวน 107 คน โดยสุ่มกลุ่มตัวอย่างแบบสัดส่วน เครื่องมือที่ใช้ในการเก็บรวบรวมข้อมูล คือ แบบสอบถาม สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ ค่าความถี่ ร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และทดสอบสมมติฐานโดยการทดสอบค่าที การวิเคราะห์ความ แปรปรวนทางเดียวและการทดสอบผลต่างนัยสำคัญน้อยที่สุดด้วยวิธี แอลเอสดี ผลการศึกษาพบว่า (1) ระดับแรงจูงใจในการปฏิบัติงานของบุคลากรสำนักงาน เศรษฐกิจอุตสาหกรรม ในภาพรวมทั้ง 2 ปัจจัย คือ ปัจจัยจูงใจ และปัจจัยคํ้าจุน อยู่ในระดับมาก เมื่อพิจารณาเป็นรายปัจจัยพบว่า ปัจจัยจูงใจด้านความสำเร็จของงาน อยู่ในระดับมากที่สุด รองลงมา ด้านความรับผิดชอบอยู่ในระดับมาก และน้อยที่สุดคือ ด้านความก้าวหน้าของงาน ส่วนปัจจัยคํ้าจุน ด้านความสัมพันธ์กับเพื่อนร่วมงาน อยู่ในระดับมากที่สุด รองลงมา ด้านการปกครองบังคับบัญชา อยู่ในระดับมาก และน้อยที่สุดคือ ด้านผลประโยชน์ตอบแทนและสวัสดิการ (2) การเปรียบเทียบ แรงจูงใจในการปฏิบัติงานของบุคลากรสำนักงานเศรษฐกิจอุตสาหกรรม จำแนกตามลักษณะบุคคล พบว่า ตำแหน่งงานแตกต่างกัน มีแรงจูงใจในการปฏิบัติงานโดยรวมแตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญ ทางสถิติที่ระดับ 0.5 และ (3) ระดับแรงจูงใจของบุคลากรสายงานวิชาการ และบุคลากรสายงานสนับสนุน มีแรงจูงใจในการปฏินํติงานแตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.5 | th_TH |
dc.format | application/pdf | en_US |
dc.language.iso | th | en_US |
dc.publisher | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช | th_TH |
dc.rights | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช | th_TH |
dc.rights | Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0) | en_US |
dc.rights.uri | https://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/ | en_US |
dc.source | Reformatted digital | en_US |
dc.subject | สำนักงานเศรษฐกิจอุตสาหกรรม--ข้าราชการและพนักงาน--ความพอใจในการทำงาน | th_TH |
dc.subject | การศึกษาอิสระ--บริหารธุรกิจ | th_TH |
dc.title | แรงจูงใจในการปฏิบัติงานของบุคลากรสำนักงานเศรษฐกิจอุตสาหกรรม | th_TH |
dc.title.alternative | Motivation at work of Office of Industrial Economices Officials | th_TH |
dc.type | Thesis | en_US |
dc.degree.name | บริหารธุรกิจมหาบัณฑิต | th_TH |
dc.degree.level | ปริญญาโท | th_TH |
dc.degree.discipline | สาขาวิชาวิทยาการจัดการ | th_TH |
dc.degree.grantor | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช | th_TH |
dc.description.abstractalternative | The purposes of this study were: (1) to study the motivation level at work of Office of Industrial Economics Officials; (2) to compare the motivation level at work of the Office of Industrial Economics classified by personal characteristics; and (3) to compare the motivation level at work between the academic and support staff. This study was a survey research. The population was 148 Office of Industrial Economics Officials. The numbers of sample was 107 people calculated by using the Krejcie & Morgan formula, samples chosen with random sampling method. Data collecting instrument was a questionnaire. Descriptive statistics including percentage, mean, standard deviation, and inferential statistics as Independent t-Test, One-way analysis of variance with LSD. The results found that: (1) the overall picture of the motivation level at work of Office of Industrial Economics Officials, both motivation factors and hygiene factors were at high. For motivation factors, it was found that the opinions to work achievement aspect was at the highest level, followed by work responsibility which was at high level , the least was work progress aspect. For hygiene factors, it was found that, relationship among colleagues aspect was at the highest level followed by work authorization which was at high level, and the least was benefit and remuneration aspect. (2) Comparison of motivation at work of the Office of Industrial Economics Officials classified by personal characteristics, it was found that only work position aspect were different at .05 level of statistically significance. (3) Motivation level at work between the academic staff and support staff were different at the statistically significance level of .05. | en_US |
Appears in Collections: | Manage-Independent study |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
157841.pdf | เอกสารฉบับเต็ม | 11.63 MB | Adobe PDF | View/Open |
This item is licensed under a Creative Commons License