Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/6925
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorเสน่ห์ จุ้ยโต, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.advisorบุญศรี พรหมมาพันธุ์, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.authorอภิญญา พิมพะ, 2506--
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สำนักบัณฑิตศึกษาth_TH
dc.date.accessioned2023-06-29T07:31:00Z-
dc.date.available2023-06-29T07:31:00Z-
dc.date.issued2556-
dc.identifier.urihttps://ir.stou.ac.th/handle/123456789/6925-
dc.description.abstractการศึกษาวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) ศึกษาความต้องการในการพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ของนัก บริหารในสังกัดกรมบัญชีกลาง (2) เปรียบเทียบระดับความต้องการพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ของนักบริหารตั้งแต่ ระดับชำนาญการ หรือชำนาญงาน ขึ้นไป ในสังกัดกรมบัญชีกลางจำแนกตามปัจจัยส่วนบุคคล และ (3) ศึกษา ปัญหาการพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ของนักบริหารในกรมบัญชีกลาง การศึกษาครั้งนี้เป็นการวิจัยเชิงสำรวจ ประชากรคือ ข้าราชการผู้ดำรงตา แหน่งนักบริหารในสังกัด กรมบัญชีกลางจำนวน 391 คน กลุ่มตัวอย่าง จำนวน 276 คน ได้มาจากการคำนวณโดยใช้สูตรของทาโร่ ยามาเน่ โดยการ สุ่มตัวอย่างอย่างง่าย เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยคือ แบบสอบถาม สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ การแจกแจง ความถี่ ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย ค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน การทดสอบค่าที ผลการศึกษา พบว่า (1) นักบริหารในสังกัดกรมบัญชีกลางมีความต้องการพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ โดยภาพรวมอยู่ในระดับมาก โดยมีความต้องการสูงสุดอันดับหนึ่ง คือ ด้านการพัฒนา รองลงมา อันดับสองด้าน การฝึกอบรม และ มีความต้องการด้านการศึกษาในระดับปานกลาง ตามลำดับ (2) นักบริหารที่มีเพศ อายุ และ ระดับตำแหน่ง ต่างกันมีความต้องการพัฒนาทรัพยากรมนุษย์แตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05 ส่วนนักบริหารที่มีระดับการศึกษา และระยะเวลาการปฏิบัติราชการในกรมบัญชีกลางต่างกันมีความต้องการ พัฒนาทรัพยากรมนุษย์ไม่แตกต่างกัน (3) ความคิดเห็นต่อปัญหาการพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ของกรมบัญชีกลาง โดยภาพรวมอยู่ในระดับปานกลางโดยมีปัญหาในระดับมาก คือ ด้านการพัฒนา และระดับปานกลาง คือ ด้านการ ฝึกอบรม และด้านการศึกษา ตามลำดับth_TH
dc.formatapplication/pdfen_US
dc.language.isothth_TH
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.relation.urihttps://www.doi.org/10.14457/SU.the.2013.1en_US
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)en_US
dc.rights.urihttps://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/en_US
dc.sourceBorn digitalen_US
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาวิทยาการจัดการ -- วิทยานิพนธ์th_TH
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. แขนงวิชาบริหารรัฐกิจ -- วิทยานิพนธ์th_TH
dc.subjectกรมบัญชีกลางth_TH
dc.subjectการพัฒนาทรัพยากรมนุษย์th_TH
dc.titleการศึกษาความต้องการพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ของนักบริหาร กรณีศึกษา : กรมบัญชีกลางth_TH
dc.title.alternativeStudy of needs for human resource development of the executive case study : The General Comtroller [i.e. Comptroller] Departmentth_TH
dc.typeThesisth_TH
dc.degree.nameบริหารธุรกิจมหาบัณฑิตth_TH
dc.degree.levelปริญญาโทth_TH
dc.degree.disciplineสาขาวิชาวิทยาการจัดการth_TH
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.description.abstractalternativeThe objectives of this thesis were to (1) study human resource development needs for the executives of General Comptroller Department; (2) compare the needs by personal factors and (3) explore the problems of human resource development for the executives of General Comptroller Department. The study was a survey research. Samples of 276 executives of General Comptroller Department were derived from Taro Yamane calculation method. Simple sampling was applied. Instrument used was questionnaire. Statistical tools employed were frequency, percentage, mean, standard deviation, and t-test. The study found that (1) in the overall view, development needs were in high level, with the highest needs on development, next in training, and medium needs on education aspect (2) executives with different gender, age, and position had different development needs with 0.05 level of statistical significance, while no differences were found among needs of those with different education levels and work duration (3) opinions on problems of human resource development for the executives of General Comptroller Department, in general, were at medium level, with high level in development aspect and medium level in training and education aspects.en_US
Appears in Collections:Manage-Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
137715.pdfเอกสารฉบับเต็ม2.32 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons