Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/6934
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorภูริพัฒน์ ชาญกิจ, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.authorจันทร์จีรา เชยแอ, 2529--
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาวิทยาการจัดการth_TH
dc.date.accessioned2023-06-29T08:27:13Z-
dc.date.available2023-06-29T08:27:13Z-
dc.date.issued2560-
dc.identifier.urihttps://ir.stou.ac.th/handle/123456789/6934-
dc.description.abstractการศึกษาครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) ศึกษาระดับส่วนประสมการตลาดบริการ โรงพยาบาลเกษมราษฎร์ฉะเชิงเทรา และ (2) เปรียบเทียบปัจจัยส่วนบุคคลกับส่วนประสมการตลาด บริการโรงพยาบาลเกษมราษฎร์ฉะเชิงเทรา การศึกษาครั้งนี้เป็นการวิจัยเชิงสำรวจ ประชากรที่ใช้ในการศึกษาคือ ผู้มารับบริการที่ แผนกผู้ป่วยนอก ยกเว้นแผนกกุมารเวชกรรมโรงพยาบาลเกษมราษฎร์ฉะเชิงเทรา ในช่วงเดือน มกราคมถึงเดือนมีนาคม พ.ศ.2561 มีจำนวน 51,669 คน กำหนดขนาดกลุ่มตัวอย่างจากการคำนวณ ตามสูตรทาโร ยามาเน่ ได้จำนวน 400 คน ทำการสุ่มตัวอย่างแบบไม่ใช้ความน่าจะเป็นสุ่มแบบตามความสะดวก เครื่องมือที่ใช้ในการเก็บรวบรวมข้อมูล คือ แบบสอบถาม สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ ข้อมูลประกอบด้วย ค่าความถี่ ร้อยละ ค่าเฉลี่ย และส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และทดสอบสมมติฐาน โดยการทดสอบค่าที การวิเคราะห์ความแปรปรวนทางเดียว และการทดสอบความแตกต่างรายลู่ด้วย วิธีเปรียบเทียบพหุคูณ ผลการศึกษาพบว่า (1) กลุ่มตัวอย่างมีระดับความคิดเห็นต่อส่วนประสมการตลาด บริการโรงพยาบาลเกษมราษฏร์ฉะเชิงเทราโดยรวมอยู่ในระดับมาก มากที่สุดคือ ด้านผลิตภัณฑ์ รองลงมาคือ ด้านบุคลากรในการให้บริการ ด้านองค์ประกอบทางกายภาพ ต้านการจัดจำหน่าย ด้านกระบวนการให้บริการ ด้านราคา และด้านการส่งเสริมการตลาด ตามลำดับ (2) เมื่อเปรียบเทียบ ความคิดเห็นของผู้ป่วยนอกต่อส่วนประสมการตลาดบริการโรงพยาบาลเกษมราษฎร์ฉะเชิงเทรา จำแนกตามปัจจัยส่วนบุคคล พบว่า ผู้รับบริการ ที่มี อาชีพ รายได้ และระดับการศึกษาที่แตกต่างกัน มีความคิดเห็นของผู้ป่วยนอกต่อส่วนประสมการตลาดบริการโรงพยาบาลเกษมราษฎร์ฉะเชิงเทรา แตกต่างกัน อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05 ส่วนผู้รับบริการที่มีเพศและอายุแตกต่างกัน มีความคิดเห็นของผู้ป่วยนอกต่อส่วนประสมการตลาดบริการโรงพยาบาลเกษมราษฎร์ฉะเชิงเทรา ไม่แตกต่างกันth_TH
dc.formatapplication/pdfen_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)en_US
dc.rights.urihttps://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/-
dc.sourceBorn digitalen_US
dc.subjectโรงพยาบาลเกษมราษฎร์ฉะเชิงเทราth_TH
dc.subjectโรงพยาบาลเอกชน--ไทย--การบริการ.th_TH
dc.subjectการศึกษาอิสระ--บริหารธุรกิจth_TH
dc.titleส่วนประสมการตลาดบริการโรงพยาบาลเกษมราษฎร์ฉะเชิงเทราth_TH
dc.title.alternativeService marketing mix of Kaserad Chachoengsao Hospitalen_US
dc.typeThesisen_US
dc.degree.nameบริหารธุรกิจมหาบัณฑิตth_TH
dc.degree.levelปริญญาโทth_TH
dc.degree.disciplineสาขาวิชาวิทยาการจัดการth_TH
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.description.abstractalternativeThe purposes of this study were: (1) to study the service marketing mix of Kasemrad Chachoengsao Hospital; and (2) to compare personal factors with the service marketing mix of Kasemrad Chachoengsao Hospital. This study was a survey research. The population was outpatient services except department of pediatrics at Kasemrad Chachoengsao Hospital. The sampling size was calculated by using the Taro Yamane formula. The numbers of sample was 400 people chosen with non-probability sampling technique. Data were collected via questionnaires and analyzed through use of descriptive statistics (percentage, mean, standard deviation) and inferential statistics (t-test, one-way analysis of variance with LSD). The findings presented that: (1) the service marketing mix at Kasemrad Chachoengsao Hospital was at the high level. Considering each aspect found that the first priority was a product, followed by the personnel in the service, physical evidence, the distribution channel, process, price and promotion respectively; and (2) the comparison of outpatients’ opinion toward service marketing mix of Kasemrad Chachoengsao Hospital with different personal factors found that there were no statistical significance within the groups of gender and age. However, a statistical significance was found within the groups of different occupation, income, educational level at a significant level at 0.05.en_US
Appears in Collections:Manage-Independent study

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
158536.pdfเอกสารฉบับเต็ม12.61 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons